แนวทางการดูแลรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศิริวรรณ อัญญะสิมาพันธ์
Other Authors: สมฤทัย วัชราวิวัฒน์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10758
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.10758
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ไตวายเรื้อรัง
ไตวายเรื้อรัง -- ผู้ป่วย -- การดูแล
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง
spellingShingle การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ไตวายเรื้อรัง
ไตวายเรื้อรัง -- ผู้ป่วย -- การดูแล
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง
ศิริวรรณ อัญญะสิมาพันธ์
แนวทางการดูแลรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
description วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
author2 สมฤทัย วัชราวิวัฒน์
author_facet สมฤทัย วัชราวิวัฒน์
ศิริวรรณ อัญญะสิมาพันธ์
format Theses and Dissertations
author ศิริวรรณ อัญญะสิมาพันธ์
author_sort ศิริวรรณ อัญญะสิมาพันธ์
title แนวทางการดูแลรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
title_short แนวทางการดูแลรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
title_full แนวทางการดูแลรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
title_fullStr แนวทางการดูแลรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
title_full_unstemmed แนวทางการดูแลรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
title_sort แนวทางการดูแลรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10758
_version_ 1681409815541186560
spelling th-cuir.107582009-08-29T08:28:09Z แนวทางการดูแลรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม Clinical guidelines for management of hyperphosphatemia in hemodialysis patients ศิริวรรณ อัญญะสิมาพันธ์ สมฤทัย วัชราวิวัฒน์ นาวี รักในศีล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ไตวายเรื้อรัง ไตวายเรื้อรัง -- ผู้ป่วย -- การดูแล ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 จัดทำและพัฒนาแนวทางการดูแลรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง และประเมินผลการนำแนวทางดังกล่าวไปทดลองใช้กับผู้ป่วย โดยศึกษาในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ณ หน่วยไตเทียม กองอายุรกรรม โรงพยาบาลอานันทมหิดล ช่วง กุมภาพันธ์-สิงหาคม 2545 แนวทางการดูแลรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงได้พัฒนาขึ้นจากการศึกษา รวบรวมงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไต เทียม และนำเสนอให้อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคไตได้พิจารณาและรับรอง ก่อนนำไปทดลองใช้กับผู้ป่วยเป็นเวลา 3 เดือน และประเมินผลของการนำแนวทางฯ ดังกล่าวไปใช้ โดยพิจารณาจากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ (ระดับฟอสเฟตและแคลเซียมในเลือด) ค่าผลคูณระหว่างแคลเซียมและฟอสเฟต (CaxP) และจำนวนครั้งในการเกิดภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง ก่อนและหลังการทดลองใช้แนวทางการดูแลรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง ผู้ป่วยเข้าร่วมการศึกษาจำนวนทั้งสิ้น 16 ราย (อายุ 28-71 ปี) หลังการทดลองใช้แนวทางการดูแลรักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง พบว่าระดับฟอสเฟตเฉลี่ยของผู้ป่วยมีค่าลดลงจาก 6.9+-2.1 มก./ดล. เป็น 6.3+-2.2 มก./ดล. ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันเมื่อทดสอบด้วย paired t-test (p = 0.105) ผู้ป่วย 3 ราย (18.8%) มีระดับฟอสเฟตเฉลี่ยในเลือดอยู่ในระหว่าง 4.5-5.5 มก./ดล.ซึ่งเป็นระดับเป้าหมายที่ต้องการทั้งก่อนและหลังการใช้แนวทางฯ ผู้ป่วย 5 ราย (31.2%) มีระดับฟอสเฟตเฉลี่ยลดลงสู่ระดับเป้าหมาย และมีผู้ป่วย 1 รายที่มีระดับฟอสเฟตเฉลี่ยลดลงอย่างมากจาก 11.1 มก./ดล. เหลือ 7.1 มก./ดล. และผู้ป่วยจำนวน 4 ราย (25.0%) มีระดับฟอสเฟตเฉลี่ยในเลือดลดลงหลังการใช้แนวทางฯ แต่ยังไม่เข้าสู่ระดับเป้าหมาย ผู้ป่วยที่เหลือจำนวน 3 ราย (18.8%) ไม่สามารถควบคุมให้ระดับฟอสเฟตลดลงหลังการใช้แนวทางฯ ดังกล่าว จำนวนครั้งในการเกิดภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงลดลงเหลือ 26 ครั้งจาก 34 ครั้ง แต่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญเมื่อทดสอบด้วย McNemar Chi-square test (p = 0.082) ผู้ป่วยมีระดับแคลเซียมเฉลี่ยในเลือดสูงขึ้นจาก 9.8+-0.9 มก./ดล.เป็น 10.4+-0.8 มก./ดล. แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติเมื่อทดสอบด้วย paired t-test (p = 0.090) ค่าเฉลี่ยของ CaxP ก่อนและหลังการใช้แนวทางฯ เท่ากับ 66.8+-19.4 มก./ดล. และ 63.9+-20.4 มก./ดล.ตามลำดับ จำนวนครั้งที่ค่า CaxP มากกว่า 70 มก.[ยกกำลัง 2]/ดล.[ยกกำลัง 2] ลดลงจาก 17 ครั้งเหลือ 15 ครั้ง (11.8%) หลังการใช้แนวทางฯ แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติเมื่อทดสอบด้วย McNemar Chi-square test (p = 0.829) แนวทางการดูแลภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงที่จัดทำขึ้นนี้ ต้องการการปรับปรุงในรายละเอียด และถ้าได้ศึกษาในขนาดตัวอย่างที่มากขึ้น และมีการปรับปรุงแก้ไขตามผลการทดลองใช้ ตลอดจนได้มีการจัดทำคู่มือต่างๆ ได้แก่ คู่มือการให้คำแนะนำเรื่องอาหาร และคู่มือการใช้วิตามินดี สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในหน่วยไตเทียมอื่นๆได้ To develop clinical guidelines for management of hyperphosphatemia for hemodialysis patients and evaluate its effects when implemented to patients. The patients with end stage renal disease who undergoing hemodialysis at hemodialysis unit, Anandhmahidol hospital were included in this study. The studty was carried out during December 2001 to August 2002. The guidelines were developed from previous study reports about hyperphosphatemia and its management in hemodialysis patients and approved by the nephrologist before implemented to patients for 3 months. We evaluated the impacts of the guidelines from laboratory findings (serum phosphate and calcium), calcium-phosphate product (CaxP), and the numbers of hyperphosphatemia events that occurred between before and after guideline implementation. There were 16 patients, aged 28-71 years old, included in this study. The mean of serum phosphate decreased from 6.9+-2.1 mg/dL to 6.3+-2.2 mg/dL after the guideline implementation. But there was no significant difference (paired t-test ; p=0.105). Three patients (18.8%) had serum phosphate within target level, before and after guideline implementation. Serum phosphate of 5 patients (31.2 %) decreased to target range after intervention as of guidelines. There was one patient whose serum phosphate decreased markedly from 11.1 mg/dL to 7.1 mg/dL. Four patients (25.0%) had serum phosphate decreased after guideline implementation but their mean phosphate levels were not in the target range. There were 3 patients (18.8%) who could not control their serum phosphate after treated according to the guidelines. The numbers of hyperphosphatemia events reduced from 34 to 26 times. There was no significant difference when tested by McNemar Chi-square test (p = 0.540). The patients had elevated serum calcium after treated per guidelines. Means +- SD of serum calcium before and after guideline application were 9.8+-0.9 mg/dL and 10.4+-0.8 mg/dL; respectively. There was not statistically significant (paired t-test ; p=0.090). Means of CaxP before and after guideline implementation were 66.8+-19.4 mg[superscript 2]/dL[superscript 2] and 63.9+-20.4 mg[superscript 2]/dL[superscript 2] ; respectively. The numbers of CaxP more than 70mg[superscript 2]/dL[superscript 2] reduced from 17 to 15 times (11.8%). There was no significant differrence when tested by McNemar Chi-square test (p = 0.829). The guidelines can implement to other hemodialysis units after adaptation according to results of implementation study and they are needed to be studied in larger numbers of patients and longer period than in this study. Necessary manuals (ie., manual of diet counselling and manual of vitamin D therapy) should be developed and use with the guidelines. 2009-08-29T08:28:09Z 2009-08-29T08:28:09Z 2545 Thesis 9741712332 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10758 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1384123 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย