ค่าผลต่างของอัลบูมินในเลือดกับน้ำในช่องท้องในการทำนายการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคตับแข็งที่มีน้ำในช่องท้อง

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เผด็จ เวศกิจกุล
Other Authors: รังสรรค์ ฤกษ์นิมิตร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10763
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.10763
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ตับแข็ง
น้ำในช่องท้อง
ภาวะเส้นเลือดขอดหลอดอาหารโป่งแตก
หลอดเลือดดำในหลอดอาหารขอด
อัลบูมิน
spellingShingle ตับแข็ง
น้ำในช่องท้อง
ภาวะเส้นเลือดขอดหลอดอาหารโป่งแตก
หลอดเลือดดำในหลอดอาหารขอด
อัลบูมิน
เผด็จ เวศกิจกุล
ค่าผลต่างของอัลบูมินในเลือดกับน้ำในช่องท้องในการทำนายการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคตับแข็งที่มีน้ำในช่องท้อง
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
author2 รังสรรค์ ฤกษ์นิมิตร
author_facet รังสรรค์ ฤกษ์นิมิตร
เผด็จ เวศกิจกุล
format Theses and Dissertations
author เผด็จ เวศกิจกุล
author_sort เผด็จ เวศกิจกุล
title ค่าผลต่างของอัลบูมินในเลือดกับน้ำในช่องท้องในการทำนายการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคตับแข็งที่มีน้ำในช่องท้อง
title_short ค่าผลต่างของอัลบูมินในเลือดกับน้ำในช่องท้องในการทำนายการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคตับแข็งที่มีน้ำในช่องท้อง
title_full ค่าผลต่างของอัลบูมินในเลือดกับน้ำในช่องท้องในการทำนายการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคตับแข็งที่มีน้ำในช่องท้อง
title_fullStr ค่าผลต่างของอัลบูมินในเลือดกับน้ำในช่องท้องในการทำนายการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคตับแข็งที่มีน้ำในช่องท้อง
title_full_unstemmed ค่าผลต่างของอัลบูมินในเลือดกับน้ำในช่องท้องในการทำนายการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคตับแข็งที่มีน้ำในช่องท้อง
title_sort ค่าผลต่างของอัลบูมินในเลือดกับน้ำในช่องท้องในการทำนายการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคตับแข็งที่มีน้ำในช่องท้อง
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10763
_version_ 1681412935153352704
spelling th-cuir.107632009-08-31T04:05:49Z ค่าผลต่างของอัลบูมินในเลือดกับน้ำในช่องท้องในการทำนายการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคตับแข็งที่มีน้ำในช่องท้อง Predictive value of serum-ascites albumin concentration gradient for esophageal varices detection in cirrhotic patients with ascites เผด็จ เวศกิจกุล รังสรรค์ ฤกษ์นิมิตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ ตับแข็ง น้ำในช่องท้อง ภาวะเส้นเลือดขอดหลอดอาหารโป่งแตก หลอดเลือดดำในหลอดอาหารขอด อัลบูมิน วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 ค่าผลต่างของอัลบูมินในเลือดกับน้ำในช่องท้อง (SAAG) เป็นข้อมูลสำคัญในการวินิจฉัยแยกสาเหตุของน้ำในช่องท้อง ถ้าค่า SAAG ที่มากกว่าหรือเท่ากับ 1.1 กรัมต่อเดซิลิตรบ่งชี้ว่าผู้ป่วยมีภาวะความดันในเส้นเลือดพอร์ทัลสูงโดยมี ความเที่ยงตรง 97 เปอร์เซ็นต์ ปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาที่ประเมินความสัมพันธ์ของค่า SAAG ในการทำนายการตรวจพบภาวะความดันในเส้นเลือดพอร์ทัลสูง (ตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหาร) การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความไวของค่าผลต่างของอัลบูมินใน เลือดกับน้ำในช่องท้องในการทำนายการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารในผู้ป่วย โรคตับแข็งที่มีน้ำในช่องท้อง ผู้ป่วยโรคตับแข็งที่มีน้ำในช่องท้อง 49 ราย เป็นชาย 33 คน หญิง 16 คน ( อายุเฉลี่ย 55.1 ปี ) สาเหตุของโรคตับแข็งที่พบบ่อยที่สุดคือ สุรา (39%) รองลงมาคือ ไวรัสตับอักเสบบี (29%) และสุราและไวรัสตับอักเสบ (16%) ตามลำดับ ผู้ป่วยเป็น Child C (71.4%) และ Child B (28.6%) ผู้ป่วย 43 ราย (87.8%) มี high SAAG และผู้ป่วย 6 ราย (12.2%) มี low SAAG และตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหาร 37 ราย (86%)ในกลุ่ม high SAAG และ 2 ราย(33.3%) ในกลุ่ม low SAAG โดยความไวของค่า SAAG ที่มากกว่าหรือเท่ากับ 1.1 กรัมต่อเดซิลิตรในการทำนายการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารเท่ากับ 94.9% และการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารมีความสัมพันธ์โดยตรงกับระดับค่า SAAG อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ระดับค่า SAAG ที่มากกว่า 1.23 กรัมต่อเดซิลิตรช่วยทำนายการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหาร กล่าวโดยสรุปความไวของค่า SAAG ที่มากกว่าหรือเท่ากับ 1.1 กรัมต่อเดซิลิตรในการทำนายการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารเท่ากับ 94.9% ระดับค่า SAAG มีความสัมพันธ์กับการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารในผู้ป่วยโรคตับแข็งที่มี น้ำในช่องท้อง และระดับค่า SAAG ที่มากกว่า 1.23 กรัมต่อเดซิลิตรสามารถช่วยทำนายการตรวจพบเส้นเลือดขอดหลอดอาหารในผู้ป่วยโรค ตับแข็งที่มีน้ำในช่องท้อง Serum ascites albumin concentration gradient (SAAG) provides important information about the ascites.If the SAAG is 1.1 g/dl or higher, the patient has portal hypertension with 97% accuracy. To identify cirrhotic patients with ascites who might have esophageal varices, we investigated the predictive value of SAAG for esophageal varices detection in cirrhotic patients with ascites. Forty nine cirrhotic patients with ascites underwent diagnostic abdominal paracentesis and esophagogastroduodenoscopy at King Chulalongkorn Memorial Hospital. Sensitivity of SAAG for esophageal varices detection was evaluated. Univariate and multivariate analysis were used to evaluate among esophageal varices detection and various patients characteristics (etiology of cirrhosis, Child Pugh score, laboratory parameters and endoscopic results). High SAAG was considered when the SAAG was 1.1 g/dl or higher and low SAAG when it measured lower than 1.1 g/dl. Etiology of cirrhosis in 33 men and 16 women (mean age 55.1 years) were alcohol 39%, hepatitis B 29%, hepatitis C 4%, alcohol/viral hepatitis16% and unknown etiology 12%. All patients were classified as Child B (28.6%) and Child C (71.4%). There were 43 of 49 patients (87.8%) had a high SAAG. There were 6 of 49 patients (12.2%) had a low SAAG. Esophageal varices were presented in 37 of 43 patients (86%) in a group with high SAAG and in 2 of 6 patients (33.3%) in a group with low SAAG (P=0.012). The sensitivity of a high SAAG for EV detection was 94.9%. The presence of EV was associated with SAAG level (P=0.009). The size of EV had no association with the level of SAAG in the patients with ascites (P=0.32). Using the Receiver Operating Characteristic Curve, SAAG level of 1.23 g/dl was the least cut off value for the presence of EV. Univariate analysis showed albumin and SAAG associated with EV detection in cirrhotic patients (P=0.006 and 0.002). But multivariate analysis showed only SAAG associated with EV detection in cirrhotic patients (P=0.004). In cirrhotic patients with ascites, the sensitivity of high SAAG for EV detection is 94.9%. The presence of EV in cirrhotic patients with ascites and high SAAG is directly related to the SAAG level. The size of EV in cirrhotic patients with ascites and high SAAG is not associated with the SAAG level. A SAAG level of more than 1.23 g/dl is a useful mean to predict the presence of EV in cirrhotic patients with ascites. 2009-08-31T04:05:48Z 2009-08-31T04:05:48Z 2545 Thesis 9741724594 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10763 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 540799 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย