การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความเหนื่อยหน่าย ในการทำวิจัยของนิสิตบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุธีรา พลรักษ์
Other Authors: ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10777
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.10777
record_format dspace
spelling th-cuir.107772009-08-31T06:24:37Z การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความเหนื่อยหน่าย ในการทำวิจัยของนิสิตบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย A development of the causal relationship model of burnout in conducting research of graduate students, Faculty of Education, Chulalongkorn University สุธีรา พลรักษ์ ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย ความเครียด (จิตวิทยา) ความเหนื่อยหน่าย (จิตวิทยา) ลิสเรลโมเดล วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 พัฒนาและตรวจสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ของความเหนื่อยหน่ายในการทำวิจัย ของนิสิตบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามทฤษฎีความสมดุลย์ระหว่างบุคคลและสิ่งแวดล้อมของ French และคณะ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ นิสิตบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เข้าศึกษาเมื่อปีการศึกษา 2536-2538 และกำลังศึกษาตามหลักสูตรปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต แผน ก (ทำวิทยานิพนธ์) ในภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2539 จาก 11 ภาควิชา จำนวน 395 คน เก็บรวมรวบข้อมูลโดยใช้วิธีการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ อัตราการตอบกลับคิดเป็นร้อยละ 61.77 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS/PC+ ในการหาค่าสถิติพื้นฐาน และใช้โปรแกรมลิสเรล (LISREL VIII) ในการวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) ประเภทมีตัวแปรแฝง (latent variable) ผลการวิจัยสรุปได้ว่า โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความเหนื่อยหน่ายในการทำวิจัย มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่าไค-สแควร์ เท่ากับ 12.191 ; p=.731 มีองศาอิสระ 16 ค่า GFI เท่ากับ .933 ค่า AGFI เท่ากับ .951 ค่าเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐานเท่ากับ 2.000 ค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์ (R Square) เท่ากับ .627 แสดงว่าตัวแปรในโมเดลอธิบายความแปรปรวน ในตัวแปรความเหนื่อยหน่ายในการทำวิจัยได้ร้อยละ 62.7 ตัวแปรที่ให้อิทธิพลรวมต่อความเหนื่อยหน่ายในการทำวิจัยสูงที่สุด อย่างมีนัยสำคัญ คือ ตัวแปรแรงสนับสนุนทางสังคม รองลงมา คือ ตัวแปรความสามารถในการตัดสินใจ ปริมาณและความยากของงาน และความขัดแย้งในบทบาท To develop the causal relationship model of burnout in conducting research of graduate students, Faculty of Education, Chulalongkorn University, based on the person-environment fit theory of French et.al. and the literatures. The sample consisted of 395 graduate students who enrolled during the academic year 1993 to 1995 in 11 departments of Faculty of Education, Chulalongkorn University and were conducting research in academic year 1996. Mail questionnaires were employed with 61.77% return rate of response. Data were analyzed by descriptive statistical analyses through SPSS/PC+ and path analysis with latent variables through LISREL version 8.10. The result indicated that the model was consistent with empirical data. Model validation of the best fitted model provided the chi-squire goodness-of-fit test of 12.191 ; p=.731, df=16, GFI=.993, AGFI=.951 and LSR=2.000. This model accounted for 62.7 percent of variance in the research burnout variable. The variables that had significant total effects on research burnout were social support, decision making, work overload and role conflict respectively. 2009-08-31T06:24:36Z 2009-08-31T06:24:36Z 2540 Thesis 9746373099 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10777 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 898468 bytes 979997 bytes 1407318 bytes 1058010 bytes 1116730 bytes 1070683 bytes 1496761 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ความเครียด (จิตวิทยา)
ความเหนื่อยหน่าย (จิตวิทยา)
ลิสเรลโมเดล
spellingShingle ความเครียด (จิตวิทยา)
ความเหนื่อยหน่าย (จิตวิทยา)
ลิสเรลโมเดล
สุธีรา พลรักษ์
การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความเหนื่อยหน่าย ในการทำวิจัยของนิสิตบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
author2 ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์
author_facet ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์
สุธีรา พลรักษ์
format Theses and Dissertations
author สุธีรา พลรักษ์
author_sort สุธีรา พลรักษ์
title การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความเหนื่อยหน่าย ในการทำวิจัยของนิสิตบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_short การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความเหนื่อยหน่าย ในการทำวิจัยของนิสิตบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_full การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความเหนื่อยหน่าย ในการทำวิจัยของนิสิตบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_fullStr การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความเหนื่อยหน่าย ในการทำวิจัยของนิสิตบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_full_unstemmed การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความเหนื่อยหน่าย ในการทำวิจัยของนิสิตบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_sort การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความเหนื่อยหน่าย ในการทำวิจัยของนิสิตบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10777
_version_ 1681413872956735488