การกำหนดห้องเรียนให้มีจำนวนที่นั่งที่ว่างเหลือน้อยที่สุด

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุวิวัฒน์ สืบสานกุล
Other Authors: ปวีณา เชาวลิตวงศ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10819
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.10819
record_format dspace
spelling th-cuir.108192009-08-31T08:34:27Z การกำหนดห้องเรียนให้มีจำนวนที่นั่งที่ว่างเหลือน้อยที่สุด Classroom assignment for minimizing the number of empty seats สุวิวัฒน์ สืบสานกุล ปวีณา เชาวลิตวงศ์ เหรียญ บุญดีสกุลโชค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คณะวิศวกรรมศาสตร์ ตารางสอน การใช้ประโยชน์จากห้องเรียน ห้องเรียน วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 การกำหนดห้องเรียนให้ใช้ประโยชน์ได้สูงสุดนั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เมื่อมีจำนวนวิชาเรียนและจำนวนห้องเรียนเพิ่มมากขึ้น การกำหนดห้องเรียนในปัจจุบันจึงไม่สามารถทำได้ดีที่สุด จากงานวิจัยก่อนหน้านี้มีการศึกษาการจัดตารางเรียน และการกำหนดห้องเรียนร่วมกัน แต่มีรูปแบบปัญหาที่แตกต่างกันตามเงื่อนไขของแต่ละสถานที่ และบางรูปแบบปัญหาสามารถหาคำตอบที่ดีที่สุดได้ สำหรับงานวิจัยนี้ได้เห็นความสำคัญเฉพาะการกำหนดห้องเรียน ให้มีจำนวนที่นั่งว่างน้อยที่สุด ซึ่งเป็นรูปแบบปัญหาการกำหนดห้องเรียน (Classroom Assignment Problem) และสอดคล้องกับปัญหาปัจจุบันของ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยทุกวิชาต้องมีห้องเรียนหนึ่งห้อง และแต่ละห้องเรียนประกอบด้วยวิชาที่มีเวลาเรียนต่างกันได้มากกว่าหนึ่งวิชา ในงานวิจัยนี้ได้สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในรูปของ Integer Linear Programming และใช้โปรแกรม Solver Large Scale Version 3.5 ในการคำนวณหาคำตอบ ซึ่งคำตอบที่ได้เป็นคำตอบที่ดีที่สุด และผลการศึกษางานวิจัยนี้ ได้คำตอบที่ดีกว่าการกำหนดห้องเรียนในปัจจุบัน โดยมีจำนวนที่นั่งว่างลดลง 52.4% Classroom assignment is essential for maximizing classroom utilization. Especially when the number of courses and the number of classroom are increased, the existing method of classroom assignment is not efficient to solve these complicate problems. From the previous research, timetabling classroom problem and classroom assignment problem have been studied together. In addition, the constraints of these problems varied from one university to another. However some problems can be examined the optimal solutions using the methodology proposed by the previous studies. In this research, the objective is to assign a number of courses to classrooms in order to minimize the number of empty seats.This is the classroom assignment problem, which corresponds with the problem of the Faculty of Engineering at Kasetsart University. For this problem, each course has to be assigned to a specific classroom, while each classroom can be assigned to many different courses but have to be assigned in different periods. In this research, the mathematical model is formulated as an integer linear programming. Solver large scale version 3.5 is used to solve the model and to acquire the optimal solution. According to the solution from this study, the number of empty seats was reduced by 52.4% compared with the result from the existing method 2009-08-31T08:34:26Z 2009-08-31T08:34:26Z 2545 Thesis 9741711107 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10819 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 691383 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คณะวิศวกรรมศาสตร์
ตารางสอน
การใช้ประโยชน์จากห้องเรียน
ห้องเรียน
spellingShingle มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คณะวิศวกรรมศาสตร์
ตารางสอน
การใช้ประโยชน์จากห้องเรียน
ห้องเรียน
สุวิวัฒน์ สืบสานกุล
การกำหนดห้องเรียนให้มีจำนวนที่นั่งที่ว่างเหลือน้อยที่สุด
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
author2 ปวีณา เชาวลิตวงศ์
author_facet ปวีณา เชาวลิตวงศ์
สุวิวัฒน์ สืบสานกุล
format Theses and Dissertations
author สุวิวัฒน์ สืบสานกุล
author_sort สุวิวัฒน์ สืบสานกุล
title การกำหนดห้องเรียนให้มีจำนวนที่นั่งที่ว่างเหลือน้อยที่สุด
title_short การกำหนดห้องเรียนให้มีจำนวนที่นั่งที่ว่างเหลือน้อยที่สุด
title_full การกำหนดห้องเรียนให้มีจำนวนที่นั่งที่ว่างเหลือน้อยที่สุด
title_fullStr การกำหนดห้องเรียนให้มีจำนวนที่นั่งที่ว่างเหลือน้อยที่สุด
title_full_unstemmed การกำหนดห้องเรียนให้มีจำนวนที่นั่งที่ว่างเหลือน้อยที่สุด
title_sort การกำหนดห้องเรียนให้มีจำนวนที่นั่งที่ว่างเหลือน้อยที่สุด
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10819
_version_ 1681413765995692032