ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อส่งเสริม เด็กปัญญาเลิศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุจิรา ภูวสรรเพ็ชญ์
Other Authors: พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10979
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.10979
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic เด็กปัญญาเลิศ
เด็กปัญญาเลิศ -- การศึกษา
spellingShingle เด็กปัญญาเลิศ
เด็กปัญญาเลิศ -- การศึกษา
สุจิรา ภูวสรรเพ็ชญ์
ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อส่งเสริม เด็กปัญญาเลิศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
author2 พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์
author_facet พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์
สุจิรา ภูวสรรเพ็ชญ์
format Theses and Dissertations
author สุจิรา ภูวสรรเพ็ชญ์
author_sort สุจิรา ภูวสรรเพ็ชญ์
title ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อส่งเสริม เด็กปัญญาเลิศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร
title_short ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อส่งเสริม เด็กปัญญาเลิศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร
title_full ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อส่งเสริม เด็กปัญญาเลิศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร
title_fullStr ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อส่งเสริม เด็กปัญญาเลิศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อส่งเสริม เด็กปัญญาเลิศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร
title_sort ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อส่งเสริม เด็กปัญญาเลิศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10979
_version_ 1681411867851882496
spelling th-cuir.109792009-09-03T03:33:06Z ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อส่งเสริม เด็กปัญญาเลิศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร Opinions of administrators and teachers cocerning education to promote the gifted children in science and technology in secondary schools under Jurisdiction of the Department of General Education, Bangkok Metropolis สุจิรา ภูวสรรเพ็ชญ์ พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย เด็กปัญญาเลิศ เด็กปัญญาเลิศ -- การศึกษา วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 ศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับ การศึกษาเพื่อส่งเสริมเด็กปัญญาเลิศ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีวิจัยแบบสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างของค่ามัชฌิมเลขคณิตโดยการทดสอบค่าที (T-test) และเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครู ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันโดยการทดสอบค่าเอฟ (F-test) ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้บริหารและครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร มีความสนใจและเห็นด้วยกับแนวทางในการพัฒนาเด็กปัญญาเลิศ และการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมเด็กปัญญาเลิศ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโรงเรียนมัธยมศึกษาในระดับมาก แนวทางในการพัฒนาเด็กปัญญาเลิศที่เห็นด้วยมากที่สุดคือ การพัฒนาเด็กปัญญาเลิศควรพัฒนาทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมไปพร้อมๆ กัน ส่วนการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมเด็กปัญญาเลิศ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโรงเรียนมัธยมศึกษาที่เห็นด้วยมากที่สุดคือ การพิจารณาจากผลงานของนักเรียนทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ในการคัดแยกเด็กปัญญาเลิศด้านวิทยาศาสตร์ หลักสูตรควรเปิดโอกาสให้เด็กศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองให้มาก และในการจัดรูปแบบหรือโปรแกรมการศึกษา ควรเปิดโอกาสให้เด็กศึกษาโดยใช้ชุดการสอน ที่จัดให้เด็กโดยเฉพาะด้วยการค้นคว้าหาคำตอบเองโดยอิสระ และควรมีการเสริมการเรียนในเรื่องทันสมัยที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ตามความสามารถและความสนใจของเด็กเก่ง (2) ผู้บริหารและครูมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการศึกษา เพื่อส่งเสริมเด็กปัญญาเลิศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโรงเรียนมัธยมศึกษาไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ผู้บริหารมีความเห็นด้วยมากกว่าครู อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 8 ข้อ และ (3) ผู้บริหารและครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ในโรงเรียนขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็กมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการศึกษา เพื่อส่งเสริมเด็กปัญญาเลิศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโรงเรียนมัธยมศึกษา ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามีความคิดเห็นแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เพียงข้อเดียว To study the opinions of administrators and teachers concerning education to promote the gifted children in science and technology in secondary schools under the jurisdiction of the department of General of Education, Bangkok metropolis. The result of the research indicated that (1) The administrators and teachers in secondary schools under the jurisdiction of the department of general of education, Bangkok metropolis were interested and agreed in the approach of development and the educational management to promote the gifted children in science and technology in secondary schools at high level. The approach to develop the gifted children which was the most agreeable was that they should be simultaneously developted on physical, mental, mood and social. Besides, the educational management to promote the gifted children which was the most agreeable was that viewing the student performance in science and mathematics in order to select the gifted children in science. The curriculum should give an opportunity to the children to study and search by themselves. (2) The opinion between the administrators and teachers concerning education to promote the gifted children in science and technology in secondary schools was not different at .05 significant level in each parts. When we considered in to items, there were 8 items which were different. And (3) the opinion of the administrators and teachers in secondary schools under the jurisdiction of the Department of the General Education with different enrolments was not different at .05 significant level in each parts. When we considered in to items, there was only one item which was different. 2009-09-03T03:33:05Z 2009-09-03T03:33:05Z 2540 Thesis 9746375296 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10979 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 940588 bytes 1209326 bytes 2130489 bytes 864000 bytes 1963765 bytes 1346299 bytes 1330318 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf ไทย กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย