การนำเถ้าลอยชานอ้อยไปใช้ดูดซับกำจัดโครเมียมแล้วนำไปทำให้เป็นก้อนแข็ง

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ธีระชัย วัฒนสกุลเอก
Other Authors: มนัสกร ราชากรกิจ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11007
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.11007
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic น้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดโลหะหนัก
การดูดซับ
ชานอ้อย
ขี้เถ้าลอย
การทำให้เป็นของแข็ง
spellingShingle น้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดโลหะหนัก
การดูดซับ
ชานอ้อย
ขี้เถ้าลอย
การทำให้เป็นของแข็ง
ธีระชัย วัฒนสกุลเอก
การนำเถ้าลอยชานอ้อยไปใช้ดูดซับกำจัดโครเมียมแล้วนำไปทำให้เป็นก้อนแข็ง
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
author2 มนัสกร ราชากรกิจ
author_facet มนัสกร ราชากรกิจ
ธีระชัย วัฒนสกุลเอก
format Theses and Dissertations
author ธีระชัย วัฒนสกุลเอก
author_sort ธีระชัย วัฒนสกุลเอก
title การนำเถ้าลอยชานอ้อยไปใช้ดูดซับกำจัดโครเมียมแล้วนำไปทำให้เป็นก้อนแข็ง
title_short การนำเถ้าลอยชานอ้อยไปใช้ดูดซับกำจัดโครเมียมแล้วนำไปทำให้เป็นก้อนแข็ง
title_full การนำเถ้าลอยชานอ้อยไปใช้ดูดซับกำจัดโครเมียมแล้วนำไปทำให้เป็นก้อนแข็ง
title_fullStr การนำเถ้าลอยชานอ้อยไปใช้ดูดซับกำจัดโครเมียมแล้วนำไปทำให้เป็นก้อนแข็ง
title_full_unstemmed การนำเถ้าลอยชานอ้อยไปใช้ดูดซับกำจัดโครเมียมแล้วนำไปทำให้เป็นก้อนแข็ง
title_sort การนำเถ้าลอยชานอ้อยไปใช้ดูดซับกำจัดโครเมียมแล้วนำไปทำให้เป็นก้อนแข็ง
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11007
_version_ 1681411701473280000
spelling th-cuir.110072009-09-08T03:34:36Z การนำเถ้าลอยชานอ้อยไปใช้ดูดซับกำจัดโครเมียมแล้วนำไปทำให้เป็นก้อนแข็ง Ultilization of bagasse fly ash as adsorbent material for chromium removal with subsequent solidification of spent material ธีระชัย วัฒนสกุลเอก มนัสกร ราชากรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ น้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดโลหะหนัก การดูดซับ ชานอ้อย ขี้เถ้าลอย การทำให้เป็นของแข็ง วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 ศึกษาถึงความสามารถและประสิทธิภาพของเถ้าลอยชานอ้อยจากโรงงานน้ำตาล เพื่อใช้กำจัดโครเมียมจากนั้นนำเถ้าลอยชานอ้อยที่ดูดซับโครเมียม แล้วมาทำเป็นก้อนแข็งโดยการแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์บางส่วนในการผสมมอร์ตา โดยในส่วนของการกำจัดโครเมียมในน้ำเสียสังเคราะห์เป็นการทดลองแบบแบตช์ โดยหาสภาวะที่เหมาะสมของการกำจัดโครเมียมที่ความเข้มข้นและพีเอชต่างๆ แต่ละความเข้มข้นจะปรับค่าพีเอชให้เปลี่ยนแปลงตั้งแต่ 1 ถึง 6 ผลการทดลองพบว่า เมื่อพีเอชของน้ำเสียโครเมียมสังเคราะห์ลดลง ความสามารถและประสิทธิภาพในการดูดซับโครเมียมจะเพิ่มขึ้น และที่พีเอช 1 เป็นพีเอชที่กำจัดโครเมียมได้ดีที่สุด สภาวะที่เหมาะสมต่อการกำจัดโครเมียมคือที่ความเข้มข้นโครเมียมสูงกว่า 20 มิลลิกรัมต่อลิตรขึ้นไป ที่พีเอชเท่ากับ 1 ใช้เวลาสัมผัสเท่ากับ 30 นาที ซึ่งความสามารถในการดูดซับโครเมียม จะมีค่าใกล้เคียงกันทุกความเข้มข้นเริ่มต้นของโครเมียมที่มากกว่า 20 มิลลิกรัมต่อลิตรขึ้นไป จะได้ความสามารถในการดูดซับโครเมียมประมาณ 0.60 มิลลิกรัมโครเมียมต่อกรัมเถ้าลอยชานอ้อย แต่ในด้านประสิทธิภาพการกำจัดจะลดลงเมื่อใช้ความเข้มข้นโครเมียม ส่วนผลการศึกษาไอโซเทอมโดยใช้เถ้าลอยชานอ้อยพบว่า ความสามารถในการกำจัดโครเมียมมีความสัมพันธ์กับไอโซเทอมการดูดซับแบบแลงมัวร์ สำหรับการศึกษาความเป็นไปได้ในการนำเถ้าลอยชานอ้อยที่ใช้กำจัดโครเมียมแล้ว มาใช้แทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์บางส่วนในการผสมมอร์ตา ซึ่งสรุปผลการศึกษาถึงสมบัติทางกายภาพ และส่วนประกอบทางเคมีของเถ้าลอยชานอ้อยได้ว่า เถ้าลอยชานอ้อยไม่สามารถจัดเป็นวัสดุปอซโซลานตามข้อกำหนดใน ASTM C618 และเมื่อนำมาใช้แทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์พบว่า กำลังรับแรงอัดของมอร์ตาลดลง ซึ่งในงานวิจัยนี้ เถ้าลอยชานอ้อยที่ผ่านการดูดซับโครเมียม สามารถนำมาใช้แทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ในการผสมมอร์ตาได้ 10% โดยน้ำหนัก โดยใช้สัดส่วนระหว่างวัสดุประสานต่อทราย เท่ากับ 1 ต่อ 2.75 และอัตราส่วนน้ำต่อซีเมนต์ เท่ากับ 0.5 ซึ่งให้ค่ากำลังรับแรงอัดสูงสุดที่อายุการบ่ม 28 วัน คิดเป็น 79.67% เมื่อเทียบกับมอร์ตาธรรมดา และสำหรับผลการวิเคราะห์การชะละลายโครเมียม ในน้ำชะของมอร์ตาผสมเถ้าลอยชานอ้อยที่ผ่านการดูดซับโครเมียม พบว่า ค่าการชะละลายมีค่าต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540) To determine the hexavalent chromium removal efficiency of and the chromium adsorption capacity by bagasse fly ash, a waste product from sugar industry, before solidifying with cement and adsorbed bagasse fly ash. The batch experiments were carried out to study the effect of initial concentration and initial pH values of synthetic wastewater containing chromium. The adsorption of chromium was studied over a pH range of 1.0-6.0 at each initial concentration. The results show that the chromium removal efficiency of and the chromium adsorption capacity increased when the initial pH values of synthetic wastewater decreased. The highest chromium removal efficiency was showed at pH of 1. The equilibrium adsorption was reach at 30 minutes for each initial concentration. The chromium adsorption capacity was approximately 0.60 mg/g for each initial concentration over 20 mg/l. On the other hand, the result of condition in term of initial concentration showed the chromium removal efficiency related to the initial concentration negatively. The adsorption isotherm for chromium removal was fitted in the both, Freundlich and Langmuir isotherm. The experimental results of cement fixation indicated adsorbed bagasse fly ash could not be classified as a pozzolanic material according to ASTM C618 requirements. Adsorbed bagasse fly ash - cement mortars showed slightly lower compressive strengths than the control. Adsorbed bagasse fly ash cement mortars can be used to directly replace portland cement up to 10% by weight with a 1:2.75 ratio of binder to sand and a water to cement of 0.5. The 28-day unconfined compressive strength of this optimum mortar mix possessed satisfactory strength of about 67.10% of the controlling sample. Finally, the chromium leachability of all adsorbed bagasse fly ash - cement mortars met the regulatory limits of the Department of industries (1997). 2009-09-08T03:34:36Z 2009-09-08T03:34:36Z 2546 Thesis 9741748116 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11007 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1669610 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย