การรู้จำวรรณยุกต์ในคำพูดต่อเนื่องภาษาไทยบนพื้นฐานแบบจำลองฟูจิซากิ

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นัทธี งามเจตนรมย์
Other Authors: สมชาย จิตะพันธ์กุล
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11039
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.11039
record_format dspace
spelling th-cuir.110392009-09-09T09:53:19Z การรู้จำวรรณยุกต์ในคำพูดต่อเนื่องภาษาไทยบนพื้นฐานแบบจำลองฟูจิซากิ Tone recognition in continuous Thai speech based on Fujisaki model นัทธี งามเจตนรมย์ สมชาย จิตะพันธ์กุล วิทยากร อัศดรวิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ การรู้จำเสียงพูดอัตโนมัติ ภาษาไทย การพูด แบบจำลองฟูจิซากิ นิวรัลเน็ตเวิร์ค (คอมพิวเตอร์) วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 การรู้จำวรรณยุกต์ของคำพูดต่อเนื่องภาษาไทย เป็นส่วนเพิ่มเติมความสามารถในระบบการรู้จำเสียงพูดในคำพูดต่อเนื่องภาษาไทย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เสนอการรู้จำวรรณยุกต์ของคำพูดต่อเนื่องในภาษาไทยโดยประยุกต์ใช้พารามิเตอร์ของแบบจำลองฟูจิซากิเป็นค่าคุณลักษณะสำคัญเพื่อลดผลของการลดลงของเสียง และการควบร่วมของโทนเสียง อีกทั้งลดความซับซ้อนในการกระบวนการรู้จำโดยการลดขนาดของเวกเตอร์คุณลักษณะสำคัญ นอกจากนั้นยังนำเสนอกรรมวิธีหาค่าพารามิเตอร์ของแบบจำลองฟูจิซากิแบบอัตโนมัติ โดยผลการทดสอบการรู้จำให้ค่าเฉลี่ยความถูกต้องการรู้จำร้อยละ 96.35 และสำหรับกรณีการหาค่าพารามิเตอร์โดยอัตโนมัติให้ค่าเฉลี่ยความถูกต้องในการรู้จำร้อยละ 70.27 Thai language is a tonal language. Thus tone characteristic should be an essential characteristic in order to add up performance of recognition engine in Thai continuous speech recognition. This thesis purposes a tone recognition system in continuous Thai speech using parameters obtained from Fujisaki model as features. Its advantageous are those of reducing declination and tonal assimilation effects and also reducing the complexity of recognition system by decreasing the size of feature vectors. An automatic Fujisaki model parameters extraction process is proposed and the experimental results show that the recognition rates are 96.35% and 70.27% for manually process and automatically process, respectively. 2009-09-09T09:53:19Z 2009-09-09T09:53:19Z 2546 Thesis 9741747101 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11039 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2454779 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การรู้จำเสียงพูดอัตโนมัติ
ภาษาไทย
การพูด
แบบจำลองฟูจิซากิ
นิวรัลเน็ตเวิร์ค (คอมพิวเตอร์)
spellingShingle การรู้จำเสียงพูดอัตโนมัติ
ภาษาไทย
การพูด
แบบจำลองฟูจิซากิ
นิวรัลเน็ตเวิร์ค (คอมพิวเตอร์)
นัทธี งามเจตนรมย์
การรู้จำวรรณยุกต์ในคำพูดต่อเนื่องภาษาไทยบนพื้นฐานแบบจำลองฟูจิซากิ
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
author2 สมชาย จิตะพันธ์กุล
author_facet สมชาย จิตะพันธ์กุล
นัทธี งามเจตนรมย์
format Theses and Dissertations
author นัทธี งามเจตนรมย์
author_sort นัทธี งามเจตนรมย์
title การรู้จำวรรณยุกต์ในคำพูดต่อเนื่องภาษาไทยบนพื้นฐานแบบจำลองฟูจิซากิ
title_short การรู้จำวรรณยุกต์ในคำพูดต่อเนื่องภาษาไทยบนพื้นฐานแบบจำลองฟูจิซากิ
title_full การรู้จำวรรณยุกต์ในคำพูดต่อเนื่องภาษาไทยบนพื้นฐานแบบจำลองฟูจิซากิ
title_fullStr การรู้จำวรรณยุกต์ในคำพูดต่อเนื่องภาษาไทยบนพื้นฐานแบบจำลองฟูจิซากิ
title_full_unstemmed การรู้จำวรรณยุกต์ในคำพูดต่อเนื่องภาษาไทยบนพื้นฐานแบบจำลองฟูจิซากิ
title_sort การรู้จำวรรณยุกต์ในคำพูดต่อเนื่องภาษาไทยบนพื้นฐานแบบจำลองฟูจิซากิ
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11039
_version_ 1681412505200492544