กรณีศึกษารูปแบบแผนการดำเนินงานในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11145 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.11145 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ที่อยู่อาศัย -- การออกแบบและการสร้าง การสร้างบ้าน บ้านสำเร็จรูป |
spellingShingle |
ที่อยู่อาศัย -- การออกแบบและการสร้าง การสร้างบ้าน บ้านสำเร็จรูป พัศพันธน์ ชาญวสุนันท์ กรณีศึกษารูปแบบแผนการดำเนินงานในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป |
description |
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
author2 |
ธนิต ธงทอง |
author_facet |
ธนิต ธงทอง พัศพันธน์ ชาญวสุนันท์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
พัศพันธน์ ชาญวสุนันท์ |
author_sort |
พัศพันธน์ ชาญวสุนันท์ |
title |
กรณีศึกษารูปแบบแผนการดำเนินงานในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป |
title_short |
กรณีศึกษารูปแบบแผนการดำเนินงานในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป |
title_full |
กรณีศึกษารูปแบบแผนการดำเนินงานในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป |
title_fullStr |
กรณีศึกษารูปแบบแผนการดำเนินงานในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป |
title_full_unstemmed |
กรณีศึกษารูปแบบแผนการดำเนินงานในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป |
title_sort |
กรณีศึกษารูปแบบแผนการดำเนินงานในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11145 |
_version_ |
1681412935347339264 |
spelling |
th-cuir.111452017-02-05T04:23:15Z กรณีศึกษารูปแบบแผนการดำเนินงานในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป A case study of a framework for scheduling prefabricated housing construction พัศพันธน์ ชาญวสุนันท์ ธนิต ธงทอง นพดล จอกแก้ว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ที่อยู่อาศัย -- การออกแบบและการสร้าง การสร้างบ้าน บ้านสำเร็จรูป วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 การแข่งขันและการขยายตัวของตลาดอสังหาริมทรัพย์ทำให้ผู้ประกอบการต้องหาเทคนิคมาพัฒนาการก่อสร้าง การก่อสร้างระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูปเป็นหนึ่งในเทคนิคที่นิยมใช้ในการพัฒนาการก่อสร้าง และมี ลักษณะเฉพาะตัวในการต้องการความต่อเนื่องของทรัพยากรและพื้นที่การทำงานมากกว่าการก่อสร้างระบบหล่อในที่ โดยแผนการดำเนินงานที่ใช้อยู่ในการก่อสร้างระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูปแสดงข้อมูลอย่างจำกัด ไม่สามารถถ่ายทอดข้อมูลจากฝ่ายวางแผนสู่ฝ่ายควบคุมและผ่ายปฏิบัติงานได้ และมีระยะเวลาการ ดำเนินงานไม่สอดคล้องกับการปฏิบัติงานก่อสร้าง นอกจากนี้การมีข้อมูลอย่างจำกัดของแผนการ ดำเนินงานก่อให้เกิดความยากในการปรับเปลี่ยนแก้ไขแผนการดำเนินงานในอนาคต งานวิจัยนี้มี วัตถุประสงค์ในการจัดทำรูปแบบของแผนการดำเนินงานในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยระบบชิ้นส่วน สำเร็จรูปให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริง และสามารถสื่อสารข้อมูลแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษากระบวนการทำงานในปัจจุบัน โดยการสังเกตการณ์ ทำงาน การเก็บข้อมูล และการสัมภาษณ์ เพื่อทำการวิเคราะห์กระบวนการทำงานในปัจจุบัน อันได้แก่ ลักษณะของโครงการ ลักษณะการดำเนินงานการทำงานในระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป การวางแผนการ ดำเนินงาน และการนำแผนการดำเนินงานไปใช้ แล้วนำผลที่ได้จากการวิเคราะห์กระบวนการทำงาน ในปัจจุบันไปวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาปรับปรุงรูปแบบของแผนการดำเนินงาน และประเมินผล แผนการดำเนินงานที่พัฒนา โดยประเมินผลในด้านการสะท้อนการปฏิบัติงานจริง ความเหมาะสมของ รูปแบบและเนื้อหาในแผนการดำเนินงาน ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น และการถ่ายทอดข้อมูลของแผนการดำเนินงาน จากผลการศึกษาพบว่า รูปแบบแผนการดำเนินงานในการก่อสร้าง บ้านพักอาศัยระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป ประกอบด้วย 5 ส่วนหลัก ดังนี้ ส่วนแสดงวัสดุเครื่องมือและอุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องส่วนแสดงลำดับขั้นตอนการติดตั้งชิ้นส่วนคอนกรีตสำเร็จรูป ส่วนแสดงกำหนดการทำงาน ส่วนแสดงแนวทางการแก้ไขปัญหาที่พบบ่อย และสรุปแผนการติดตั้งชิ้นส่วนคอนกรีตสำเร็จรูป โดยกำหนดการทำงานมีส่วนประกอบย่อยเพื่อเป็นข้อมูลช่วยในการทำงานของบุคลากร ดังนี้ กิจกรรมและกิจกรรมย่อย กำหนดการและระยะเวลาการทำงาน แรงงาน เครื่องจักร วิธีการก่อสร้าง ข้อควรระวังในการก่อสร้าง พื้นที่การทำงาน และการตรวจสอบคุณภาพ โดยข้อมูลที่ประกอบใน แผนการดำเนินงานแสดงอยู่ในรูปแบบของรูปภาพ เพื่อง่ายต่อการเข้าใจ นอกจากนี้กำหนดการทำงาน ในกิจกรรมย่อยที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของเครื่องจักรจะแสดงอยู่ในระดับชั่วโมง เพื่อบริหาร เครื่องจักรอันเป็นทรัพยากรวิกฤติของการก่อสร้างระบบนี้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด Currently, the competition in the real estate market forces the constructors to increase their productivity. Construction techniques are introduced to provide more efficiency of the real estate projects. The prefabrication construction is one of the popular techniques that have been applied to housing projects. However, it has its characteristics that need continuous flow of resource utilization and more working areas. The presently used scheduling techniques such as, Bar Chart, Line of Balance, and Daily Schedule, are not adequate to transfer the important information from the planners to site supervisors and operators. The lack of support information causes unrealistic schedules and difficulty to modify such schedules to be practical ones in the later stages of the project. The objective of this research is to develop a framework for scheduling prefabricated housing construction that reflects the practical operation and transfers planning information to the site supervisors and operators. This research includes literature review of the related work, analysis of the present operations, and development of a framework for scheduling prefabricated work. The validation of the framework is in terms of composition, format, the ability to solve the present problems, and the information transfer. From the research, it founds that a framework for scheduling prefabricated housing construction composes of five components; materials and tools, prefabricated members installation sequence, activity and sub-activity schedule, troubleshooting, and integration schedule. For activity and sub-activity schedule, it covers activity and sub-activity, schedule and duration, labor and machine requirements, construction method, activity cautions, working areas, and quality specifications. Information in this schedule should how in graphical or pictorial format, which and provide more understanding to operators. Moreover, the machines involved in sub-activity should be scheduled in hourly scale for the duration and starting time in order to provide more efficiency in machine management. 2009-09-14T08:26:11Z 2009-09-14T08:26:11Z 2549 Thesis 9741434421 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11145 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3401685 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |