การขยายพันธุ์โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata Blume ด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการปักชำ
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11303 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.11303 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช โกงกาง พืช -- การขยายพันธุ์ |
spellingShingle |
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช โกงกาง พืช -- การขยายพันธุ์ สรัญยา ณ ลำปาง การขยายพันธุ์โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata Blume ด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการปักชำ |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 |
author2 |
พิพัฒน์ พัฒนผลไพบูลย์ |
author_facet |
พิพัฒน์ พัฒนผลไพบูลย์ สรัญยา ณ ลำปาง |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สรัญยา ณ ลำปาง |
author_sort |
สรัญยา ณ ลำปาง |
title |
การขยายพันธุ์โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata Blume ด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการปักชำ |
title_short |
การขยายพันธุ์โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata Blume ด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการปักชำ |
title_full |
การขยายพันธุ์โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata Blume ด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการปักชำ |
title_fullStr |
การขยายพันธุ์โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata Blume ด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการปักชำ |
title_full_unstemmed |
การขยายพันธุ์โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata Blume ด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการปักชำ |
title_sort |
การขยายพันธุ์โกงกางใบเล็ก rhizophora apiculata blume ด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการปักชำ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11303 |
_version_ |
1681413435174158336 |
spelling |
th-cuir.113032009-09-23T09:25:35Z การขยายพันธุ์โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata Blume ด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการปักชำ Propagation of rhizophora apiculata Blume by tissue culture and hypocotyl cutting techniques สรัญยา ณ ลำปาง พิพัฒน์ พัฒนผลไพบูลย์ ประสาทพร สมิตะมาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช โกงกาง พืช -- การขยายพันธุ์ วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจากส่วนยอด, ข้อ, เอมบริโอ, ไฮโปคอทิล และใบของโกงกางใบเล็กบนอาหารสังเคราะห์สูตร Gauthere (1942), สูตร Hildebrandt, Riker & Dauggar (1946), สูตร Heller (1953), สูตร Nitsch & Nitsch (1956) และสูตร Murashige & Skoog (1962) เสริมด้วยสารควบคุมการเจริญเติบโต 2 ชนิด คือ ออกซิน (IAA, IBA, NAA, 2,4-D) และไซโตไคนิน (BAP, Kinetin) ระดับความเข้มข้น 4 ระดับคือ 0, 2, 5 และ 10 มก./ล. พบว่าเมื่อเพาะเลี้ยงบนอาหารทุกสูตรให้ผลใกล้เคียงกันคือ เนื้อเยื่อเกิดสีน้ำตาลอย่างรวดเร็ว จึงยังไม่สามารถตอบสนองต่อการพัฒนาเป็นแคลลัสและเจริญเปลี่ยนแปลงต่อไปได้ วิธีที่ดีที่สุดที่ช่วยชะลอการเกิดสีน้ำตาลให้ช้ากว่าปกติคือ การเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในอาหารเหลว MS ที่เสริม 0.5% PVP โดยเลี้ยงบนเครื่องเขย่า 75 รอบต่อนาที จากนั้นย้ายเนื้อเยื่อพืชไปเลี้ยงบนอาหารกึ่งแข็ง MS และเปลี่ยนอาหารทุกวัน ซึ่งพบว่ามีการพัฒนาของใบจากส่วนยอด แต่ไม่สามารถเจริญเติบโตต่อไปได้ การศึกษาการใช้ออกซินและระดับความเข้มข้นต่างๆ ต่อการกระตุ้นการสร้างรากและยอดพืชเพื่อขยายพันธุ์โกงกางใบเล็ก กระทำโดยฝักโกงกางใบเล็กมาตัดออกเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนยอด ส่วนกลาง และส่วนโคน หลังจากนั้นนำปลายของแต่ละส่วนมาจุ่มในออกซิน 3 ชนิด คือ IAA, IBA และ NAA ที่ระดับความเข้มข้น 500, 1,000, 2,000, 4,000 และ 6,000 มก./ล. และใช้ชิ้นส่วนชนิดเดียวกันที่ไม่จุ่มออกซินเป็นชุดควบคุม พบว่า IAA และ IBA มีผลต่อการพัฒนาของยอดและรากของโกงกางใบเล็กที่ระดับความเข้มข้น 500-2,000 มก./ล. โดยพบว่า IBA ให้ผลดีกว่า IAA ในด้านของการกระตุ้นการเกิดราก แต่ในด้านการกระตุ้นการเกิดยอด IAA จะให้ผลดีกว่า IBA ส่วน NAA ไม่มีผลต่อการกระตุ้นให้สร้างรากหรือยอดของฝักโกงกางเลย ออกซิเจนที่ระดับความเข้มข้น 2,000 มก./ล. จะเหมาะสมต่อการกระตุ้นการเกิดรากในทุกส่วนของฝักแต่ IBA จะให้ผลดีกับท่อนยอดและโคน ขณะที่ IAA จะให้ผลดีเฉพาะท่อนกลางของฝัก สำหรับการกระตุ้นการสร้างยอดนั้น IAA จะให้ผลดีที่สุด โดยมีระดับความเข้มข้นที่ดีที่สุดที่ 2,000 มก./ล. ในท่อนยอดและโคน และ 1,000 มก./ล. ในส่วนท่อนกลางฝัก ในด้านการเจริญของรากจากต้นอ่อนจากการปักชำฝัก พบว่า IBA ที่ระดับ 500 มก./ล. ให้ผลดีเฉพาะกับท่อนยอดและ IAA ที่ระดับ 1,000 มก./ล. จะให้ผลดีกับท่อนกลาง และท่อนโคนของฝัก Shoot tips, nodes, embryos, hypocotyls and leaf discs from mangrove (Rhizophora apiculata Blume.) were cultured on the following media : Gauthere (1942), Hilderbrandt, Riker & Dauggar (1946), Heller (1953), Nitsch & Nitsch (1956) and Murashige & Skoog (1962) supplemented with various form of auxins (IAA, IBA, NAA, 2, 4-D) and cytokinins (BAP, kinetin) at 4 different concentrations (0, 2, 5 and 10 ppm.). All of the media used in the studies revealed the same results that rapid browning of the cultured tissues could be observed. No callus formation or further development of the tissues could be obtained. Though the adding of 0.5% PVP to the liquid MS medium, shook at 75 rpm on the rotary shaker and daily sub-culture could prolong the browning of the tissue which some development of the leaves from the shoot tip could be noticed, however, no real plantlet could be obtained. Studies on the effects of auxins on the root and shoot promoting of the mangrove's seedlings were done by cutting the seedlings into 3 parts : top, middle and bottom. Each part were then dipped in either forms of auxins : IAA, IBA and NAA at the concentration of 500, 1,000, 2,000, 4,000 and 6,000 ppm. None auxin treated seedlings' parts were used as control group. The results showed that auxin at 2,000 ppm. could promote the better root development than other concentrations. The root enhancement of the top and bottom parts of the seedling were found when the IBA was applied, whereas the middle part of the seedling gave the better responded to IAA. Only IAA explicated the best action for the shoot development with the concentration of 2,000 ppm. on the top and bottom parts and 1,000 ppm. on the middle part. Furthermore, on the root development in the shoot derived from the cutting, IBA (500 ppm.) gave the best stimulation on the top part and IAA (1,000 ppm.) revealed the highest action to the middle and bottom parts of the seedlings. 2009-09-23T09:25:34Z 2009-09-23T09:25:34Z 2539 Thesis 9746349546 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11303 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 809610 bytes 710572 bytes 839669 bytes 858027 bytes 1050383 bytes 768357 bytes 720983 bytes 1125555 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |