"งิ้วแต้จิ๋ว" ในฐานะละครสังคม : สัญลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทยจีน
วิทยานิพนธ์ (มน.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11538 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.11538 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
งิ้ว -- ไทย ละครกับสังคม |
spellingShingle |
งิ้ว -- ไทย ละครกับสังคม ศยามล เจริญรัตน์ "งิ้วแต้จิ๋ว" ในฐานะละครสังคม : สัญลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทยจีน |
description |
วิทยานิพนธ์ (มน.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 |
author2 |
ปรีชา คุวินทร์พันธุ์ |
author_facet |
ปรีชา คุวินทร์พันธุ์ ศยามล เจริญรัตน์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ศยามล เจริญรัตน์ |
author_sort |
ศยามล เจริญรัตน์ |
title |
"งิ้วแต้จิ๋ว" ในฐานะละครสังคม : สัญลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทยจีน |
title_short |
"งิ้วแต้จิ๋ว" ในฐานะละครสังคม : สัญลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทยจีน |
title_full |
"งิ้วแต้จิ๋ว" ในฐานะละครสังคม : สัญลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทยจีน |
title_fullStr |
"งิ้วแต้จิ๋ว" ในฐานะละครสังคม : สัญลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทยจีน |
title_full_unstemmed |
"งิ้วแต้จิ๋ว" ในฐานะละครสังคม : สัญลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทยจีน |
title_sort |
"งิ้วแต้จิ๋ว" ในฐานะละครสังคม : สัญลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทยจีน |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11538 |
_version_ |
1681414039011328000 |
spelling |
th-cuir.115382009-10-21T03:14:14Z "งิ้วแต้จิ๋ว" ในฐานะละครสังคม : สัญลักษณ์ทางชาติพันธุ์ไทยจีน "Teochiu Chinese Opera" as a social drama : ethnic symbol of Thai-Chinese people ศยามล เจริญรัตน์ ปรีชา คุวินทร์พันธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ งิ้ว -- ไทย ละครกับสังคม วิทยานิพนธ์ (มน.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 ศึกษาถึงประวัติความเป็นมา ความสำคัญและพัฒนาการของงิ้วในฐานะเสมือนหนึ่งเป็นละครทางสังคมที่สามารถสะท้อนภาพของสังคมออกมาในรูปแบบของละคร เนื่องจากงิ้วเป็นการแสดงของชาวจีน จึงเป็นสิ่งที่แสดงออกถึงขอบเขตทางชาติพันธุ์จีนในสังคมไทย แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการปรับตัวของงิ้วเพื่อความอยู่รอดในสังคมไทย ทั้งนี้จากการเก็บข้อมูลในเบื้องต้นพบว่ามีคณะงิ้วขนาดใหญ่ในประเทศไทยจำนวน 27 คณะ ในการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกสมาชิกคณะงิ้ว 6 คณะ แยกเป็นแสดง 10 คน บุคลากรในคณะงิ้ว 6 คน และสัมภาษณ์บุคลากรในศาลเจ้าและผู้จ้าง 4 คน ผู้ชม 6 คนและเหล่าซือ 1 คน โดยอาศัยกระบวนการสังเกตและวิเคราะห์รวมถึงการสัมภาษณ์และหลักฐานทางเอกสาร จากการศึกษาพบว่า งิ้วเป็นการแสดงประเภทหนึ่งของชาวจีนที่ยังคงมีความสำคัญต่อชาวจีนเพราะมีความเกี่ยวเนื่องกับศาลเจ้าจีนที่ยังคงได้รับการเคารพบูชา การแสดงงิ้วมีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่องในสังคมไทยและถูกปรับเปลี่ยนสถานภาพเรื่อยมา จากฐานะสิ่งบูชาเทพเจ้าและค่อยๆ กลายเป็นสิ่งสร้างความบรรเทิงแก่ชาวจีน ไปจนถึงการก่อให้เกิดสำนึกร่วมในความเป็นจีนเนื่องจากภาษาที่ใช้ก็คือภาษาจีน และสภาพการเป็นเสมือนสิ่งบูชาเทพเจ้า ในทุกวันนี้งิ้วเป็นอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ที่มีการให้นิยามตัวเองใหม่ ไม่ได้ถูกจำกัดด้วยขอบเขตทางภาษาจีนเช่นในอดีต สิ่งที่งิ้วนำเสนอในการแสดงได้สะท้อนถึงตัวตนของสังคมจีน ในด้านการสะท้อนภาพความเป็นจีนในวิถีการดำเนินชีวิตโดยการสอดแทรกคำสั่งสอนตามความเชื่อให้กระทำคุณงามความดีแก่สังคม ในแง่ของสัญลักษณ์ในงิ้วนั้นเป็นการให้ความหมายที่สามารถตีความได้ภายในกลุ่มคนจีนและลูกหลาน ส่วนเรื่องร่างกายแล้วพบว่า งิ้วเป็นเสมือนการสร้างพื้นที่ขอบเขตให้แก่นักแสดงและผู้ชม ให้ร่างกายของนักแสดงมีสภาวะที่พิเศษ คือ เป็นไปตามอุดมคติที่สังคมต้องการ ในขณะเดียวกันระหว่างการแสดงงิ้วมีการสร้างบรรยากาศให้เกิดพื้นที่ทางอารมณ์เฉพาะให้คนในพื้นที่มีความรู้สึกร่วมกัน และความรู้สึกร่วมนี้ทำให้เกิดความเป็นชุมชนชาวจีนในจินตนาการที่มีขอบเขตทางเนื้อหาและสัญลักษณ์ที่เข้าใจร่วมกัน แม้เมื่อการแสดงจบลงก็ยังคงมีความเป็นชุมชนหลงเหลืออยู่ในรูปของการอบรมสั่งสอนค่านิยมความเป็นจีน ปัจจุบันพบว่าความเข้มงวดในการแสดงงิ้วลดถอยลงทั้งด้านการแสดง บุคลากรและอุปกรณ์ประกอบฉากอันเนื่องมาจากความเสื่อมความนิยมในการชมงิ้วในประเทศไทย แต่งิ้วก็ยังพยายามปรับเปลี่ยนรูปแบบการแสดงเพื่อความอยู่รอด อย่างไรก็ตามงิ้วจะไม่สูญสลายไปตราบเท่าที่ชาวจีนยังคงยึดมั่นในศาสนาและความเชื่อในบรรพบุรุษ This thesis reveals the history, significance and evolution of Teochiu Chinese Opera. The opera has been regarded as a social drama that has reflected phenomena empirically existing in societies through its various components. As it is played by Chinese, it is closely related to ethnic Chinese in Thai society. There are 27 large Teochiu Chinese Opera teams in Thailand. This study carried out in-depth interview of 6 teams, comprising 10 performers and 6 supporting staff. In addition, interviews of 4 opera supporters, 6 audiences and 1 teacher of Teochiu Chinese Opera are included. Direct observation and documentation are techniques used for data collection. It is found that the importance of opera to ethnic Chinese in Thailand is that it is relate to Chinese shrines. Change of Chinese opera can be seen in the shift of its role from worship to entertainment which are functions help to create a sense of belonging among members of the communities. This is because of two main reasons. First, the show uses Chinese language, the language of which Chinese people can understand and apprehend the stories. Secondly, it is a form of worship articulating ethnic Chinese with supernatural beings. At present, Chinese identity has been revived with new meanings to include other cultural component, not only language. The opera reflects Chinese identity in emphasizing Chinese family values based on confucius and taoist teachings. Ethnic Chinese can be represented through symbols employed in Chinese opera. On the stage, bodies and gestures of actors and actresses represent community ideological patterns of behavior and acts. Thus the opera, substantially confirms the existence of Chinese community, which continues to exist even after the show in the form of shared values which can also be seen as part of the enculturation process in maintaining Chinese identity. However, Chinese opera has lost its popularity as seen in decreasing number of the shows, number of actors and actresses, and in money spent for costumes, which leads one to question its survival potential. The study confirms that the drama will continue to exist as part of the Chinese community as long as the Chinese hold a strong commitment towards their shared values in religious belief and the worship or ancestors. 2009-10-21T03:14:14Z 2009-10-21T03:14:14Z 2544 Thesis 9740313329 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11538 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 11410824 bytes application/pdf application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |