ขนาดพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับศึกษาระบบนิเวศป่าผลัดใบแบบต่างๆ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กนก เลิศพานิช
Other Authors: จิรากรณ์ คชเสนี
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11614
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.11614
record_format dspace
spelling th-cuir.116142009-10-28T09:40:15Z ขนาดพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับศึกษาระบบนิเวศป่าผลัดใบแบบต่างๆ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง Opimal sampling plot of deciduous forest ecosystems in Huai Kha Khang Wildlife Sanctuary กนก เลิศพานิช จิรากรณ์ คชเสนี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย ระบบนิเวศ นิเวศวิทยาป่า -- ไทย -- ห้วยขาแข้ง ป่าผลัดใบ -- ไทย -- ห้วยขาแข้ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งซึ่งเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติแห่งหนึ่งของ ประเทศไทยนั้น เป็นแหล่งที่สำคัญของระบบนิเวศป่าผลัดใบที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง จึงควรศึกษาข้อมูลพื้นฐานทางนิเวศวิทยา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่อาจจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการและอนุรักษ์อย่างเหมาะสม ปัญหาพื้นฐานที่สำคัญที่สุดประการหนึ่งของการศึกษาทางนิเวศวิทยาของระบบ นิเวศคือ การไม่สามารถตัดสินใจเลือกขนาดพื้นที่ที่เหมาะสมซึ่งจะเป็นตัวแทนของระบบ นิเวศนั้น การศึกษาครั้งนี้เพื่อการตัดสินขนาดพื้นที่ตัวอย่างที่เหมาะสม ที่เป็นตัวแทนในการศึกษาระบบนิเวศป่าผลัดใบ แบบระบบนิเวศป่าเบญจพรรณและระบบนิเวศป่าเต็งรัง โดยใช้วิธีการ 2 วิธี วิธีแรกคือ ใช้ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนชนิดของสิ่งมีชีวิตที่เป็นโครงสร้างของระบบ นิเวศกับขนาดพื้นที่ โดยนำมาสร้างกราฟ จำนวนชนิด-พื้นที่ (Species-area curve) ผลการศึกษาโดยวิธีการนี้พบว่า ขนาดพื้นที่ตัวอย่างที่เหมาะสมของระบบนิเวศป่าเบญจพรรณเท่ากับ 300.0 ตร.ม. และขนาดพื้นที่ตัวอย่างที่เหมาะสมของระบบนิเวศป่าเต็งรังเท่ากับ 64.7 ตร.ม. วิธีที่สองคือ การวิเคราะห์แบ่งกลุ่ม (Cluster analysis) ที่จัดกลุ่มโดยใช้ความเหมือนกันของชนิดและความถี่ของสิ่งมีชีวิตที่เป็นโครง สร้าง ผลของการศึกษาด้วยวิธีการนี้พบว่าขนาดพื้นที่เหมาะสมของระบบนิเวศป่า เบญจพรรณเท่ากับ 256.0 ตร.ม. และขนาดพื้นที่ตัวอย่างที่เหมาะสมของระบบนิเวศป่าเต็งรังเท่ากับ 32.0 ตร.ม. นอกจากนี้ยังมีการวิเคราะห์ลักษณะโครงสร้าง โดยการจำแนกตามรูปแบบการเจริญของ ระบบนิเวศป่าเบญจพรรณและระบบนิเวศป่าเต็งรัง ผลการศึกษาพบว่าลักษณะโครงสร้างแตกต่างกันไปตาม การรบกวนที่เกิดขึ้นกับระบบนิเวศนั้นๆ Hui Kha Khang Wildlife Sanctuary, a natural world heritage site in Thailand is an important area of deciduous forest ecosystems with high biodiversity. It should be studied for basid ecological information. These required information might be beneficial for proper management and conservation. One of the most significant basic problem in ecosystem study is inability to decide the appropriate sampling plot wihich represents the ecosystem under investigation. This study determines the optimal sampling plots for mixed deciduous and dry dipterocarp forest ecosystems by two methods. The first method uses a relationship between number of species which is the ecosystem structure and area to construct species-area, curve. Results by this method show that the optimal sampling plot are 300.0 sq.m. and 64.7 sq.m. for mixed deciduous forest and dry dipterocarp forest edosystems, respectively. The second method is cluster analysis, using species similarity and frequency of each species. Results by this method show that optimal sampling plot are 256.0 sq.m. and 32.0 sq.m. for mixed deciduous forest and dry dipterocarp forest ecosystems, respectively. There is an analysis on structural characteristic classified by growth form. The results shows that structural characteristic are different in accordanc with ecosystem disturbance. 2009-10-28T09:38:46Z 2009-10-28T09:38:46Z 2539 Thesis 9746354205 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11614 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1027731 bytes 879757 bytes 1399596 bytes 948995 bytes 2045592 bytes 1160902 bytes 805381 bytes 1547981 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ระบบนิเวศ
นิเวศวิทยาป่า -- ไทย -- ห้วยขาแข้ง
ป่าผลัดใบ -- ไทย -- ห้วยขาแข้ง
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
spellingShingle ระบบนิเวศ
นิเวศวิทยาป่า -- ไทย -- ห้วยขาแข้ง
ป่าผลัดใบ -- ไทย -- ห้วยขาแข้ง
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
กนก เลิศพานิช
ขนาดพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับศึกษาระบบนิเวศป่าผลัดใบแบบต่างๆ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
author2 จิรากรณ์ คชเสนี
author_facet จิรากรณ์ คชเสนี
กนก เลิศพานิช
format Theses and Dissertations
author กนก เลิศพานิช
author_sort กนก เลิศพานิช
title ขนาดพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับศึกษาระบบนิเวศป่าผลัดใบแบบต่างๆ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
title_short ขนาดพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับศึกษาระบบนิเวศป่าผลัดใบแบบต่างๆ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
title_full ขนาดพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับศึกษาระบบนิเวศป่าผลัดใบแบบต่างๆ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
title_fullStr ขนาดพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับศึกษาระบบนิเวศป่าผลัดใบแบบต่างๆ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
title_full_unstemmed ขนาดพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับศึกษาระบบนิเวศป่าผลัดใบแบบต่างๆ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
title_sort ขนาดพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับศึกษาระบบนิเวศป่าผลัดใบแบบต่างๆ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11614
_version_ 1681411236038705152