คำวินิจฉัยขององค์กรระงับข้อพิพาทภายใต้องค์การการค้าโลกในเรื่องการใช้มาตรา 304-306 ของกฎหมายการค้าของสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1974 และนัยต่อประเทศไทย

วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: มาณพิกา มุลพรม
Other Authors: ทัชชมัย ฤกษะสุต
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11621
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.11621
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
กฎหมายพาณิชย์ -- สหรัฐอเมริกา
สหรัฐอเมริกา -- การค้ากับต่างประเทศ
spellingShingle ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
กฎหมายพาณิชย์ -- สหรัฐอเมริกา
สหรัฐอเมริกา -- การค้ากับต่างประเทศ
มาณพิกา มุลพรม
คำวินิจฉัยขององค์กรระงับข้อพิพาทภายใต้องค์การการค้าโลกในเรื่องการใช้มาตรา 304-306 ของกฎหมายการค้าของสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1974 และนัยต่อประเทศไทย
description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
author2 ทัชชมัย ฤกษะสุต
author_facet ทัชชมัย ฤกษะสุต
มาณพิกา มุลพรม
format Theses and Dissertations
author มาณพิกา มุลพรม
author_sort มาณพิกา มุลพรม
title คำวินิจฉัยขององค์กรระงับข้อพิพาทภายใต้องค์การการค้าโลกในเรื่องการใช้มาตรา 304-306 ของกฎหมายการค้าของสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1974 และนัยต่อประเทศไทย
title_short คำวินิจฉัยขององค์กรระงับข้อพิพาทภายใต้องค์การการค้าโลกในเรื่องการใช้มาตรา 304-306 ของกฎหมายการค้าของสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1974 และนัยต่อประเทศไทย
title_full คำวินิจฉัยขององค์กรระงับข้อพิพาทภายใต้องค์การการค้าโลกในเรื่องการใช้มาตรา 304-306 ของกฎหมายการค้าของสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1974 และนัยต่อประเทศไทย
title_fullStr คำวินิจฉัยขององค์กรระงับข้อพิพาทภายใต้องค์การการค้าโลกในเรื่องการใช้มาตรา 304-306 ของกฎหมายการค้าของสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1974 และนัยต่อประเทศไทย
title_full_unstemmed คำวินิจฉัยขององค์กรระงับข้อพิพาทภายใต้องค์การการค้าโลกในเรื่องการใช้มาตรา 304-306 ของกฎหมายการค้าของสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1974 และนัยต่อประเทศไทย
title_sort คำวินิจฉัยขององค์กรระงับข้อพิพาทภายใต้องค์การการค้าโลกในเรื่องการใช้มาตรา 304-306 ของกฎหมายการค้าของสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1974 และนัยต่อประเทศไทย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11621
_version_ 1681412802636414976
spelling th-cuir.116212009-11-02T03:29:38Z คำวินิจฉัยขององค์กรระงับข้อพิพาทภายใต้องค์การการค้าโลกในเรื่องการใช้มาตรา 304-306 ของกฎหมายการค้าของสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1974 และนัยต่อประเทศไทย DSB decisions concerning the application of sections 304-306 of US trade act of 1974 and its implication for Thailand มาณพิกา มุลพรม ทัชชมัย ฤกษะสุต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กฎหมายพาณิชย์ -- สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา -- การค้ากับต่างประเทศ วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและวิเคราะห์นัยของรายงานความเห็นของคณะผู้พิจารณาในคดี United States-Section 301-310 of the Trade Act of 1974 ว่าจะมีผลเป็นการลดหรือหยุดการใช้มาตรการตอบโต้ฝ่ายเดียวที่สหรัฐอเมริกาปฏิบัติต่อประเทศคู่ค้า ได้หรือไม่ จากการศึกษารายงานความเห็นของคณะผู้พิจารณาในคดีดังกล่าว พบว่า หากพิจารณาในเบื้องต้น บทบัญญัติของกฎหมายการค้าของสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1974 นั้น มีลักษณะเป็นการสงวนสิทธิให้ผู้แทนการค้ากระทำการที่ไม่สอดคล้องกับพันธกรณีในข้อ 23.2(a), (c) ของความเข้าใจว่าด้วยกฎเกณฑ์และกระบวนการในการระงับข้อพิพาท (Understanding on Rules and Procedures Governing the Settlement of Dispute: DSU) แต่เมื่อได้พิจารณาถึงคู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ (Statement of Administrative Action : SAA) หรือ คู่มือฯ ซึ่งออกโดยสภาคองเกรสของสหรัฐ มีผลบังคับให้ผู้แทนการค้าของสหรัฐจะต้องใช้มาตรการตอบโต้ทางการค้าในทางเคารพต่อพันธกรณีของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วยแล้ว พบว่า บทบัญญัติตามคู่มือฯ มีผลเป็นการแก้ไขสภาพความไม่สอดคล้องต่อพันธกรณีของสหรัฐได้อย่างเพียงพอแล้ว ดังนั้น คณะผู้พิจารณาจึงมีคำวินิจฉัยว่า มาตรา 304 - 306 ของกฎหมายการค้าของสหรัฐอเมริกา ไม่ขัดต่อพันธกรณีของข้อ 23.2(a) และ(c) แต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม คณะผู้พิจารณาในคดีนี้มิได้วินิจฉัยในประเด็นที่ว่า การที่สหรัฐอเมริกาประกาศบัญชีรายการตอบโต้ทางการค้า (retaliation list) ซึ่งมิได้มีบัญญัติไว้ในกฎหมายการค้า อีกทั้งมิได้วินิจฉัยว่า กรณีที่สหรัฐอเมริกามีคำวินิจฉัยฝ่ายเดียวว่าประเทศฝ่ายแพ้คดีมิได้ปฏิบัติตามคำแนะนำหรือคำสั่งของคณะผู้พิจารณา และยื่นคำขอระงับสิทธิประโยชน์หรืองดปฏิบัติตามพันธกรณีตามข้อ 22.6 โดยไม่ผ่านกระบวนการวินิจฉัยถึงความสมบูรณ์ในการปฏิบัติตามคำแนะนำหรือคำสั่งของประเทศฝ่ายแพ้คดีตามความในข้อ 21.5 ของความเข้าใจฯ นั้นขัดต่อพันธกรณีหรือไม่ ด้วยเหตุที่คณะผู้พิจารณามิได้มีคำวินิจฉัยที่ชัดเจน และประเด็นกฎหมายว่าด้วยความถูกต้องในการใช้มาตรการตอบโต้ทางการค้ายังมีความคลุมเครืออยู่นี้ ทำให้สหรัฐอเมริกายังมีโอกาสใช้มาตรการฝ่ายเดียวเพื่อตอบโต้หรือกดดันประเทศคู่ค้าได้ต่อไป ดังนั้น เพื่อแก้ไขปัญหากรณีที่ประเทศไทยและประเทศอื่นๆ อาจได้รับผลกระทบจากมาตรการตอบโต้ทางการค้าดังกล่าว ผู้เขียนจึงเสนอให้ประเทศไทยเสนอเรื่องนี้ต่อคณะมนตรีทั่วไป (General Council) ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศในองค์การการค้าโลก เพื่อขอแก้บทบัญญัติในความเข้าใจฯ ให้ระบุลำดับก่อน-หลังในการดำเนินกระบวนการในข้อ 21.5 และ 22.6 ให้ชัดเจน The objective of this research is to study and analyse whether or not the implication of the panel report in the United States section 301-310 of the Trade Act of 1974 case can reduce or cease the use of unilateral trade measures taken by the U.S. against its trading partners. The report of the panel in this case found that in prima facie section 304-306 Trade Act of 1974, which reserves United Stated Trade Representative or USTR's right to take action, are inconsistent with Article 23.2 (a)(c) of "Understanding on Rules and Procedures Governing the Settlement of Dispute : DSU." However, when considering the "Statement of Administrative Action" (SAA) issued by the Congress mandating USTR to take action in respective to U.S. obligations, the panel found that the mandate under SAA is sufficient to correct the inconsistency and ruled that section 304-306 is consistent with Article 23.2 (a) and (c). However, the panel did not make a decision regarding the legality of a "Retaliation list" issued by the U.S. nor the legality of U.S. arbitrarily determination that the other party did not comply with the DSB's rulings and recommendations, and then applying for DSBʼs approval to suspend the concession under Article 22.6 without the DSB's determination on the consistency under Article 21.5. Without clarification on these issues, the U.S. may continue to use its unilateral trade measures to retaliate or to pressure its trading partners. Therefore, to prevent the situation in which Thailand and other countries may be adversely affected by the U.S. retaliatory measures, the Author suggests that Thailand should propose to the General Council, which is the supreme body consisting of all WTO members, to amend and clarify the sequence of procedure under Article 21.5 and 22.6. 2009-11-02T03:26:57Z 2009-11-02T03:26:57Z 2544 Thesis 9741703414 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11621 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2432917 bytes application/pdf application/pdf สหรัฐอเมริกา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย