ความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิดของอาจารย์ที่ปรึกษา ต่อปัญหาสุขภาพจิตในนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พิณทอง ลิ่มพงศธร
Other Authors: อัมพล สูอำพัน
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11739
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.11739
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ -- นักศึกษา
อาจารย์ที่ปรึกษา
สุขภาพจิต
นักศึกษาแพทย์
spellingShingle จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ -- นักศึกษา
อาจารย์ที่ปรึกษา
สุขภาพจิต
นักศึกษาแพทย์
พิณทอง ลิ่มพงศธร
ความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิดของอาจารย์ที่ปรึกษา ต่อปัญหาสุขภาพจิตในนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
author2 อัมพล สูอำพัน
author_facet อัมพล สูอำพัน
พิณทอง ลิ่มพงศธร
format Theses and Dissertations
author พิณทอง ลิ่มพงศธร
author_sort พิณทอง ลิ่มพงศธร
title ความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิดของอาจารย์ที่ปรึกษา ต่อปัญหาสุขภาพจิตในนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_short ความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิดของอาจารย์ที่ปรึกษา ต่อปัญหาสุขภาพจิตในนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_full ความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิดของอาจารย์ที่ปรึกษา ต่อปัญหาสุขภาพจิตในนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_fullStr ความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิดของอาจารย์ที่ปรึกษา ต่อปัญหาสุขภาพจิตในนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_full_unstemmed ความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิดของอาจารย์ที่ปรึกษา ต่อปัญหาสุขภาพจิตในนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_sort ความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิดของอาจารย์ที่ปรึกษา ต่อปัญหาสุขภาพจิตในนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11739
_version_ 1681412215719067648
spelling th-cuir.117392009-12-08T03:21:53Z ความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิดของอาจารย์ที่ปรึกษา ต่อปัญหาสุขภาพจิตในนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Knowledge, attitude, and cognitive skill of academic advisors toward mental health problems in Chulalongkorn medical students พิณทอง ลิ่มพงศธร อัมพล สูอำพัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ -- นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา สุขภาพจิต นักศึกษาแพทย์ วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 ศึกษาความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิดของอาจารย์ที่ปรึกษา ต่อปัญหาสุขภาพจิตในนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปัจจัยส่วนบุคคลของอาจารย์ที่ปรึกษาที่มีความสัมพันธ์กับ ระดับความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิด ประชากรตัวอย่างในการศึกษา คืออาจารย์ที่ปรึกษาของนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2543 และอาจารย์ทุกท่านที่เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษามาแล้วอย่างน้อย 1 วาระนับตั้งแต่ปีการศึกษา 2523-2543 รวมทั้งสิ้น 273 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งผ่านการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือแล้ว วิเคราะห์ข้อมูลโดยคำนวณค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปอร์เซนต์ไทล์ และศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์โดยการคำนวณค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยที่สำคัญมีดังนี้ 1. ในภาพรวมของความรู้ต่อปัญหาสุขภาพจิต อาจารย์ที่ปรึกษาของนิสิตแพทย์ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 40.1) มีความรู้ต่อปัญหาสุขภาพจิตในระดับพอใช้ ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์คือ ภาควิชาที่สังกัด สถานภาพสมรส จำนวนบุตร จำนวนครั้งที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และตำแหน่งทางวิชาการ มีความสัพทันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยอาจารย์ที่สังกัดภาควิชาคลินิก สถานภาพสมรสคู่ มีบุตร 2 คน เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา 4 ครั้งขึ้นไป หรือมีตำแหน่งทางวิชาการเป็นอาจารย์ มีความรู้ต่อปัญหาสุขภาพจิตในระดับดีในสัดส่วนที่มากกว่ากลุ่มอื่น 2. ในภาพรวมของเจตคติต่อปัญหาสุขภาพจิต อาจารย์ที่ปรึกษาของนิสิตแพทย์ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 45.8) มีเจตคติในระดับพอใช้ ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์คือ เพศ อายุ สาขาวิชาชีพ ภาควิชาที่สังกัด อายุราชการ จำนวนครั้งที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา รวมเวลาที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และตำแหน่งทางวิชาการ มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยอาจารย์เพศชาย อายุระหว่าง 40-49 ปี สาขาวิชาชีพแพทย์ สังกัดภาควิชาคลินิก อายุราชการ 11-15 ปี เป็นอาจารย์ที่ปรึกษามาแล้ว 3-6 ปี หรืออาจารย์ที่เป็นศาสตราจารย์ มีเจตคติในระดับดีในสัดส่วนที่มากกว่ากลุ่มอื่น 3. ในภาพรวมของทักษะทางความคิดต่อปัญหาสุขภาพจิต อาจารย์ที่ปรึกษาของนิสิตแพทย์ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 45.8) มีทักษณะทางความคิดในระดับพอใช้ ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์คือ เพศ การเข้าร่วมสัมมนาอาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหาสุขภาพจิตของนิสิตในความดูแล และการเข้าพบของนิสิต มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยอาจารย์เพศหญิง อาจารย์ที่เคยเข้าร่วมสัมมนาอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ที่นิสิตมีปัญหาสุขภาพจิตและได้ส่งพบจิตแพทย์ หรืออาจารย์ที่นิสิตมาพบเพื่อขอปรึกษาเรื่องทั่วไป มีทักษะทางความคิดในระดับดีในสัดส่วนที่มากกว่ากลุ่มอื่น To determine knowledge, attitudes, and cognitive skills of academic advisors toward mental health problems in Chulalongkorn medical students, and to examine their relationships with personal factors. The study samples were 273 academic advisors of medical students from the academic year 1980 to 2000. The pre-tested self-administered questionnaire developed by researcher was employed. Statistical methods used in data analysis included percent, mean, standard deviation, percentile, and Chi-square test. Research results were as follows: 1. Knowledge regarding mental health problems of the majority of advisors was at the fair level (40.1%). Personal factors that had statistically significant relationship with knowledge of mental health problems were department, marital status, number of child in the family, frequencies of being academic advisor, and academic position. These advisors who werer: being in clinical departments, married, having 2 children, being advisors more than 4 times, or being instructors, had a proportion in high level of knowledge more than other groups. 2. Most of the advisors' attitudes toward mental health problems were at the fair level (45.8%). Personal factors that had statistically significant relationship with attitudes toward mental health problems were sex, age, occupation, department, academic experience, frequencies of being academic advisor, total period of time being academic advisor, and academic position. These advisors who were: male, 40-49 years of ages, being doctors, being in clinical departments, having 11-15 years in academic experiences, being advisors at first time, being advisors less than 3 years, or being professors, had a proportion in high level of attitudes more than other groups. 3. Most of the advisors' cognitive skills in mental health problems were at the fair level (45.8%). Personal factors that had statistically significant relationship with cognitive skills in mental health problems were sex, advisor seminar participation, students' mental health, and students' purpose for attending. These advisors who were: female, attendants in advisor seminars, referrers of students with mental health problems to be treated by psychiatrist, or attended by students for consulting general problems, had a proportion in high levle of cognitive skills more than other groups. 2009-12-08T03:21:52Z 2009-12-08T03:21:52Z 2543 Thesis 9741309872 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11739 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2234910 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย