ผลกระทบของรถบรรทุกหนักต่อการเสื่อมสภาพเนื่องจากความล้าของสะพานเหล็ก

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ชัยชาญ ยุวนะศิริ
Other Authors: ทศพล ปิ่นแก้ว
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11943
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.11943
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic รถบรรทุก
สะพานเหล็ก
วัสดุ -- ความล้า
ความเครียดและความเค้น
spellingShingle รถบรรทุก
สะพานเหล็ก
วัสดุ -- ความล้า
ความเครียดและความเค้น
ชัยชาญ ยุวนะศิริ
ผลกระทบของรถบรรทุกหนักต่อการเสื่อมสภาพเนื่องจากความล้าของสะพานเหล็ก
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
author2 ทศพล ปิ่นแก้ว
author_facet ทศพล ปิ่นแก้ว
ชัยชาญ ยุวนะศิริ
format Theses and Dissertations
author ชัยชาญ ยุวนะศิริ
author_sort ชัยชาญ ยุวนะศิริ
title ผลกระทบของรถบรรทุกหนักต่อการเสื่อมสภาพเนื่องจากความล้าของสะพานเหล็ก
title_short ผลกระทบของรถบรรทุกหนักต่อการเสื่อมสภาพเนื่องจากความล้าของสะพานเหล็ก
title_full ผลกระทบของรถบรรทุกหนักต่อการเสื่อมสภาพเนื่องจากความล้าของสะพานเหล็ก
title_fullStr ผลกระทบของรถบรรทุกหนักต่อการเสื่อมสภาพเนื่องจากความล้าของสะพานเหล็ก
title_full_unstemmed ผลกระทบของรถบรรทุกหนักต่อการเสื่อมสภาพเนื่องจากความล้าของสะพานเหล็ก
title_sort ผลกระทบของรถบรรทุกหนักต่อการเสื่อมสภาพเนื่องจากความล้าของสะพานเหล็ก
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11943
_version_ 1681412269530939392
spelling th-cuir.119432010-01-12T07:48:17Z ผลกระทบของรถบรรทุกหนักต่อการเสื่อมสภาพเนื่องจากความล้าของสะพานเหล็ก Effects of heavy truck on fatigue degradation of steel bridge ชัยชาญ ยุวนะศิริ ทศพล ปิ่นแก้ว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ รถบรรทุก สะพานเหล็ก วัสดุ -- ความล้า ความเครียดและความเค้น วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 การศึกษาวิจัยนี้ได้ตรวจวัดค่าความเครียดที่กึ่งกลางช่วงคานหลักของโครงสร้างสะพานเหล็กในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 5 สะพาน ซึ่งมีความยาวของช่วงคานหลักระหว่าง 30-50 เมตร จากนั้นได้ประเมินอายุการใช้งานของสะพานเหล็กเนื่องจากความล้า 3 แนวทางคือ แนวทางที่หนึ่ง เป็นการประเมินอายุการใช้งานของสะพานเหล็กจากข้อมูลการตรวจวัดความเครียดในภาคสนาม แนวทางที่สอง เป็นการประเมินอายุการใช้งานของสะพานเหล็กตามมาตรฐานของ AASHTO ที่ใช้แบบจำลองรถบรรทุก (fatigue truck) ในการประเมินอายุการใช้งานเนื่องจากความล้า จากการประเมินพบว่าเกิดความคลาดเคลื่อนของอายุการใช้งานถึง 40-73 เปอร์เซ็นต์เมื่อเทียบกับอายุการใช้งานที่ได้จากข้อมูลการตรวจวัดความเครียด เนื่องจากแบบจำลองรถบรรทุกของ AASHTO ได้จากข้อมูลการตรวจวัดในสหรัฐอเมริกาซึ่งความเสียหายของสะพานส่วนใหญ่เกิดเนื่องจากรถบรรทุกกึ่งพ่วงขนาด 4 และ 5 เพลา ซึ่งต่างกับการใช้สะพานในประเทศไทย แนวทางสุดท้ายเป็นการประเมินอายุการใช้งานจากแบบจำลองรถบรรทุกที่ได้สร้างขึ้นจากข้อมูลการตรวจวัดความเครียด โดยแบ่งประเภทของรถออกเป็น 5 ประเภทคือ รถบรรทุกหกล้อ รถบัส รถบรรทุกสิบล้อ รถบรรทุกกึ่งพ่วง และรถบรรทุกพ่วง ค่าน้ำหนักและค่าตัวประกอบการขยายพลวัต (dynamic amplification factor) ของรถแต่ละประเภทนั้นหาจากแบบจำลองรถบรรทุกหนักโดยการทำออปติไมเซชัน (optimization) แบบจำลองที่ 1 สร้างจากการทำออปติไมเซชันของผลรวมสัดส่วนความคลาดเคลื่อนกำลังสองต่ำสุดระหว่างผลต่างของอัตราความเสียหายที่เกิดจากความเค้นจากการตรวจวัดและจากแบบจำลองของรถแต่ละประเภทเมื่อนำน้ำหนักและตัวประตัวประกอบการขยายพลวัตที่ได้ไปประเมินอายุการใช้งานเทียบกับอายุการใช้งานที่ได้จากข้อมูลการตรวจวัดแล้วยังมีความคลาดเคลื่อนที่สูงคือ 10-62 เปอร์เซ็นต์ แบบจำลองที่ 2 สร้างจากการทำออปติไมเซชันของผลรวมสัดส่วนความคลาดเคลื่อนกำลังสองต่ำสุดระหว่างผลต่างของอายุที่ประเมินได้จากความเค้นที่ได้จากการตรวจวัดและน้ำหนักจากแบบจำลอง และน้ำหนักรถบางประเภทที่ได้จากแบบจำลองที่ 2 นี้ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง ส่วนในแบบจำลองที่ 3 สร้างจากการทำออปติไมเซชันของผลรวมความคลาดเคลื่อนกำลังต่ำสุดระหว่างผลต่างจำนวนปีของความเสียหายที่เกิดจากความเค้นที่ได้จากการตรวจวัดกับน้ำหนักจากแบบจำลอง ซึ่งเป็นการพิจารณาทั้งอัตราความเสียหาย (แบบจำลองที่ 1) และอายุการใช้งาน (แบบจำลองที่ 2) ควบคู่กันไป น้ำหนักและค่าตัวประกอบการขยายพลวัตในการประเมินอายุการใช้งานเนื่องจากความล้าได้คือ น้ำหนักของรถบรรทุก หกล้อ รถบัส รถบรรทุกสิบล้อ รถบรรทุกกึ่งพ่วง และรถบรรทุกพ่วงเป็น 8.4 12.3 17.8 30.2 และ 47.1 ตัน ส่วนค่าตัวประกอบของรถบรรทุกหกล้อ รถบัส รถบรรทุกสิบล้อ รถบรรทุกกึ่งพ่วง และรถบรรทุกพ่วงเป็น 1.18 1.11 1.12 1.09 และ 1.04 This research studies the fatigue lives of 5 overpass bridges in Bangkok from the strain data measured at midspan. The bridges are steel bridges with orthotopic decks and 30-50 meter spans. Three methods of fatigue evaluation are employed. In the first method, the evaluation depends on the field measured strain data which is believed to yield the actual lives of the bridges. In the second method, the evaluation follows the AASHTO specification using the proposed fatigue truck model; the obtained result shows the difference of 40-73 percent from first method, since the fatigue truck proposed by AASHTO is not suitable for Thailand. In the last method, new truck models are proposed. The models devide the truck into 5 categories consisting of 6-wheel truck, bus, 10-wheel truck, semi-trailer and full-trailer. Truck weights and their dynamic amplification factors are determined by optimization based on measured strain data. In the third method, we propose 3 models to determine truck weights and their dynamic amplification factors. The first model optimizes the square of the difference between the damage ratio from field measured strain data and that from each truck weight model. Using the obtained parameters to evaluate the lifes of the bridges, we found about 10-62 percent error compared with the actual lives. The second model determines the truck weights by optimizing the square of the difference between actual lives which is determined from field measured wtrain data and from the truck weight model. The results indicate undesirable truck weights; therefore, this model seems not appropriate for use. The thire model, considered for both the damage ratio and bridge lives, determines truck weights by optimizing the square of the difference between damage year ratio due to each truck from field measured strain data and that from each truck weight model. Baased on this medel, we propose the truck weights and their dynamic amplification factors used to evaluate the life of bridges be 8.4, 12.3, 17.8, 30.2, 47.1 ton and 1.18, 1.11, 1.12, 1.09, 1.04 for 6-wheel truck, bus, 10-wheel truck, semi-trailer and full-trailer. 2010-01-12T07:48:16Z 2010-01-12T07:48:16Z 2542 Thesis 9743340599 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11943 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 806398 bytes 770650 bytes 821297 bytes 872844 bytes 812676 bytes 772287 bytes 710676 bytes 1480958 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย