อิทธิพลของพระสงฆ์ต่อการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง

วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วินัย ทับทอง
Other Authors: พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11946
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.11946
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic สงฆ์ -- กิจกรรมทางการเมือง
การลงคะแนนเสียง
spellingShingle สงฆ์ -- กิจกรรมทางการเมือง
การลงคะแนนเสียง
วินัย ทับทอง
อิทธิพลของพระสงฆ์ต่อการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
description วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
author2 พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว
author_facet พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว
วินัย ทับทอง
format Theses and Dissertations
author วินัย ทับทอง
author_sort วินัย ทับทอง
title อิทธิพลของพระสงฆ์ต่อการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
title_short อิทธิพลของพระสงฆ์ต่อการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
title_full อิทธิพลของพระสงฆ์ต่อการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
title_fullStr อิทธิพลของพระสงฆ์ต่อการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
title_full_unstemmed อิทธิพลของพระสงฆ์ต่อการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
title_sort อิทธิพลของพระสงฆ์ต่อการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11946
_version_ 1681412802828304384
spelling th-cuir.119462010-01-12T07:59:54Z อิทธิพลของพระสงฆ์ต่อการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง The Buddhist monks and their influence over voters วินัย ทับทอง พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย สงฆ์ -- กิจกรรมทางการเมือง การลงคะแนนเสียง วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 การวิจัยเรื่องนื้นั้นได้มุ่งศึกษาถึงเรื่องของอิทธิพลของพระสงฆ์ไทยที่มีบทบาทต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร โดยได้ทำการศึกษาเฉพาะในพื้นที่อำเภอโพธิ์ประทับช้าง เขตการเลือกตั้งที่ 1 จังหวัดพิจิตร โดยมีวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยดังนี้คือ เพื่อศึกษาบทบาทและพฤติกรรมของพระสงฆ์ในฐานะผู้นำท้องถิ่น ศึกษาถึงเหตุปัจจัยที่ส่งเสริมต่อพฤติกรรมส่วนตัวของพระสงฆ์ในการเป็นหัวคะแนนให้กับผู้รับสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยแวดล้อมที่ส่งผลเกื้อหนุนให้พระสงฆ์ประพฤติตัวเป็นหัวคะแนนให้กับผู้รับสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและเพื่อที่จะทราบพฤติกรรมของพระสงฆ์ในขณะที่ต้องอยู่ในฐานะเป็นหัวคะแนน โดยศึกษาวิธีการปฏิบัติตนและการแสดงออกต่อการเป็นหัวคะแนนให้ผู้สมัครรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การศึกษาเรื่องนี้ได้วิธีการศึกษาเชิงสำรวจในปี 2539-2540 ประชากรที่ใช้ศึกษาเป็นชาวบ้านและพระสงฆ์เอง โดยมีสมมติฐานคือ พระสงฆ์ในฐานะผู้นำท้องถิ่นมีบทบาทและอิทธิพลต่อการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง โดยพระสงฆ์สร้างความเป็นผู้นำโดยอาศัยปัจจัยในเรื่องของบุคลิกภาพส่วนตัว สิ่งที่เป็นวัตถุมงคล และการเป็นพระนักพัฒนา มีปัจจัยแวดล้อมได้แก่ ผลประโยชน์ต่างตอบแทนความสัมพันธ์เชิงส่วนตัว ความสนใจทางการเมืองเป็นมูลเหตุจูงใจให้ประพฤติตนเป็นหัวคะแนน พฤติกรรมที่แสดงออกมาบ่งบอกด้วยการกล่าวอ้างถึงผลประโยชน์ต่างตอบแทน การแสดงความใกล้ชิดและการกล่าวถึงคุณสมบัติที่ดีของผู้สมัคร ส.ส.บ่อยครั้ง ผลจากการศึกษาพอสรุปได้ว่า พระสงฆ์ที่เป็นประชากรในการศึกษานั้นได้มีบทบาทต่อการเลือกตั้งในทุกครั้งที่ผ่านมา โดยอาศัยบทบาทของการเป็นผู้นำท้องถิ่นที่ได้ตับการยอมรับจากชาวบ้านด้วยการปฏิบัติตัวเป็นพระนักพัฒนา การมีบุคลิกภาพส่วนตัวที่ดี และการใช้ความสามารถพิเศษหรือมีความรู้เชี่ยวชาญในเรื่องต่าง ๆ สร้างความศรัทธาให้เกิดกับชาวบ้าน บทบาทและพฤติกรรมของพระสงฆ์ที่แสดงออกมามีลักษณะของการเป็นหัวคะแนน ช่วยเหลือผู้สมัครรับการเลือกตั้งอย่างเด่นชัด กล่าวคือได้มีการแสดงพฤติกรรมออกมาด้วยการกล่าวกับชาวบ้านทั้งโดยตรงและทางอ้อมถึงผลประโยชน์ตอบที่ได้รับมาแล้วหรือจะได้รับจากผู้สมัคร ส.ส. กล่าวโดยตรงหมายถึงการพูดกับชาวบ้านด้วยตนเอง ส่วนทางอ้อมหมายถึงการบอกผ่านตัวแทนกลุ่มผู้นำชุมชน นอกจากนี้แล้วยังแสดงพฤติกรรมออกมาให้ชาวบ้านนั้นเข้าใจความหมายด้วยการกล่าวถึงคุณงามความดีและแสดงออกให้เห็นว่ามีความคุ้นเคยสนิทสนมกับผู้สมัคร ส.ส. เหล่านั้น อยู่เสมอ ๆ ปัจจัยที่เป็นสาเหตุทำให้พระสงฆ์เข้าไปมีบทบาทและอิทธิพลต่อการเลือกตั้งด้วยการมีพฤติกรรมเป็นหัวคะแนนให้กับผู้สมัคร ส.ส. มากที่สุดคือ ผลประโยชน์ตอบแทนหรือรางวัลที่จะได้รับ ปัจจัยรองลงมาคือ การมีความสัมพันธ์ในเชิงส่วนตัวกับผู้สมัคร ส.ส. พระสงฆ์ไม่มีความสนใจในทางการเมืองพอที่จะเป็นปัจจัยสนับสนุนหรือส่งเสริมให้มีพฤติกรรมเป็นหัวคะแนน The purpose of this research is to study the monks’ influence over the election of the Member of the House of Representative by examining especially in area of Amphur Pohpratabchang. Election Area 1. Pichit. The objectives of this research are to study the role and behavior of the monks, as the local leader. To study factors which encourage his personal behavior, the circumstances that support his behavior, the circumstances that support his behavior as well as his performance while acting as the canvasser for the candidate by studying the procedure and performance as the canvasser. This study using the survey research during the year 1996-1997 among the villagers and monks with the hypothesis that as the local leader, the monks have behaved and had influences towards the voting by which his leadership was formed base on his personality, sacred articles and his acting as the developer monk. The circumstances are the consideration, personal relationship, political interests which are persuaded ground to the canvasser. His performance is always shown by referring to the consideration, close relation and the good qualification of the candidate. From this study, it can be summarized that in the past, the monks have played the role of local leader, accepted by the villagers, in every election by acting as the developer monk, with his good personality and his special ability or his knowledge in every matters to create the faith among villagers. His role and behavior have been shown in a form of canvasser, helping the candidate apparently. This is to say that the behavior appeared in a form of chatting with villagers, both direct and indirect, regarding the consideration received or to be received. Chatting directly means speaking with the villagers by themselves. Chatting indirectly means saying to the representative of the community leader. Moreover, his behavior showing to the villagers for their understanding was done by keep praising and showing that he is very well acquainted with such candidate. The major factor that persuaded the monk to perform his role and influence over the election as the canvasser is the consideration or reward. The minor factor is the personal relationship with the candidate. The monk is not interested in politics enough for being the canvasser. 2010-01-12T07:59:53Z 2010-01-12T07:59:53Z 2539 Thesis 9746364677 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11946 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 842440 bytes 938316 bytes 1976514 bytes 1155780 bytes 796636 bytes 911412 bytes 987434 bytes 1188212 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย