การศึกษาการผสมเทียมสุกรโดยใช้น้ำเชื้อแช่แข็ง : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

พัฒนาเทคนิคการแช่แข็งตัวอสุจิสุกร และศึกษาอัตราการปฏิสนธิ อัตราการตั้งท้อง อัตราการคลอด และจำนวนลูกเกิดหลังผสมเทียมด้วยน้ำเชื้อแช่แข็ง แบ่งการทดลองเป็น 2 การทดลองคือ การทดลองที่ 1 ศึกษาอัตราการปฏิสนธิหลังการผสมเทียมด้วยน้ำเชื้อแช่แข็ง และการทดลองที่ 2 การศึกษาอัตราการตั้งท้อง อัตราการเข้าคลอดและขนาด...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: มงคล เตชะกำพุ, คคนางค์ บูรณะอำนวย, เติมพงศ์ วงศ์ตะวัน, สุทธาทิพย์ พันธุ์เอี่ยม, เผด็จ ธรรมรักษ์
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12029
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.12029
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic สุกร -- การผสมเทียม
อสุจิแช่แข็ง
spellingShingle สุกร -- การผสมเทียม
อสุจิแช่แข็ง
มงคล เตชะกำพุ
คคนางค์ บูรณะอำนวย
เติมพงศ์ วงศ์ตะวัน
สุทธาทิพย์ พันธุ์เอี่ยม
เผด็จ ธรรมรักษ์
การศึกษาการผสมเทียมสุกรโดยใช้น้ำเชื้อแช่แข็ง : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
description พัฒนาเทคนิคการแช่แข็งตัวอสุจิสุกร และศึกษาอัตราการปฏิสนธิ อัตราการตั้งท้อง อัตราการคลอด และจำนวนลูกเกิดหลังผสมเทียมด้วยน้ำเชื้อแช่แข็ง แบ่งการทดลองเป็น 2 การทดลองคือ การทดลองที่ 1 ศึกษาอัตราการปฏิสนธิหลังการผสมเทียมด้วยน้ำเชื้อแช่แข็ง และการทดลองที่ 2 การศึกษาอัตราการตั้งท้อง อัตราการเข้าคลอดและขนาดครอกหลังการผสมเทียมด้วยน้ำเชื้อแช่แข็ง โดยรีดน้ำเชื้อจากพ่อสุกรและแช่แข็งที่ -196 ํC แล้วนำตัวอสุจิผสมเทียมแบบสอดท่อเข้าตัวมดลูก (IUI) ขนาดความเข้มข้นของอสุจิ 2.0x10 [ยกกำลัง 9] ตัว/มล. และแบบสอดท่อเข้าปีกมดลูกในสุกร (DIUI) ขนาดความเข้มข้น 1x10[ยกกำลัง 9] ตัว/ครั้ง จากการทดลองที่ 1 เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละของจำนวนตัวอ่อนที่พบภายในท่อนำไข่ซึ่งหมายถึงอัตราการปฏิสนธิในการทดลองนี้ด้านซ้ายและขวาของแม่สุกรแต่ละกลุ่มพบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (74.2% และ 75.2 %, p=0.94 สำหรับแม่สุกรกลุ่ม IUI และ 17.82% และ 18.81%, p=0.76 สำหรับแม่สุกรกลุ่ม DIUI) จากการศึกษาพบว่าอัตราการผสมติดตั้งท้องของแม่สุกรกลุ่ม IUI มีค่าเท่ากับ 88.9% (8/9) ในขณะที่แม่สุกรกลุ่ม DIUI มีค่าเป็น 66.7% (6/9) โดยอัตราการผสมติดของแม่สุกรทั้งสองกลุ่มนี้ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติและยังไม่แตกต่างกับผลของแม่สุกรกลุ่มที่ถูกผสมจริงด้วยพ่อสุกร ซึ่งถือเป็นกลุ่มควบคุม (80.9%, 59/73) (p=0.8) จากการศึกษาในครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่า น้ำเชื้อสุกรแช่แข็งที่ถูกผลิตขึ้นในประเทศไทย เมื่อนำไปใช้ผสมเทียมในแม่สุกรแบบการฉีดเข้าสู่มดลูกโดยตรง (DIUI และ IUI) นั้น สามารถลดจำนวนอสุจิที่ต้องใช้ต่อการผสมในแต่ละครั้งลงได้ โดยที่ยังคงมีอัตราการปฏิสนธิ อัตราการเข้าคลอดและขนาดครอกอยู่ในระดับที่น่าพอใจหากทำการผสมในช่วงเวลาที่ใกล้เคียงกับเวลาตกไข่มากที่สุด ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ที่จะมีการผลิตน้ำเชื้อสุกรแช่แข็งในเชิงพาณิชย์ขึ้นในประเทศไทย เพื่อใช้สำหรับการผสมเทียมหรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ ต่อไป ซึ่งในที่สุดแล้วเป็นประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมการผลิตสุกรของประเทศไทยในอนาคต
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
มงคล เตชะกำพุ
คคนางค์ บูรณะอำนวย
เติมพงศ์ วงศ์ตะวัน
สุทธาทิพย์ พันธุ์เอี่ยม
เผด็จ ธรรมรักษ์
format Technical Report
author มงคล เตชะกำพุ
คคนางค์ บูรณะอำนวย
เติมพงศ์ วงศ์ตะวัน
สุทธาทิพย์ พันธุ์เอี่ยม
เผด็จ ธรรมรักษ์
author_sort มงคล เตชะกำพุ
title การศึกษาการผสมเทียมสุกรโดยใช้น้ำเชื้อแช่แข็ง : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
title_short การศึกษาการผสมเทียมสุกรโดยใช้น้ำเชื้อแช่แข็ง : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
title_full การศึกษาการผสมเทียมสุกรโดยใช้น้ำเชื้อแช่แข็ง : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
title_fullStr การศึกษาการผสมเทียมสุกรโดยใช้น้ำเชื้อแช่แข็ง : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
title_full_unstemmed การศึกษาการผสมเทียมสุกรโดยใช้น้ำเชื้อแช่แข็ง : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
title_sort การศึกษาการผสมเทียมสุกรโดยใช้น้ำเชื้อแช่แข็ง : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12029
_version_ 1681411592104706048
spelling th-cuir.120292010-02-20T07:43:58Z การศึกษาการผสมเทียมสุกรโดยใช้น้ำเชื้อแช่แข็ง : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ The study on artificial insemination by frozen boar semen มงคล เตชะกำพุ คคนางค์ บูรณะอำนวย เติมพงศ์ วงศ์ตะวัน สุทธาทิพย์ พันธุ์เอี่ยม เผด็จ ธรรมรักษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสัตวแพทยศาสตร์ สำนักงานทหารพัฒนา. กองสนับสนุนและขยายพันธุ์สัตว์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ สุกร -- การผสมเทียม อสุจิแช่แข็ง พัฒนาเทคนิคการแช่แข็งตัวอสุจิสุกร และศึกษาอัตราการปฏิสนธิ อัตราการตั้งท้อง อัตราการคลอด และจำนวนลูกเกิดหลังผสมเทียมด้วยน้ำเชื้อแช่แข็ง แบ่งการทดลองเป็น 2 การทดลองคือ การทดลองที่ 1 ศึกษาอัตราการปฏิสนธิหลังการผสมเทียมด้วยน้ำเชื้อแช่แข็ง และการทดลองที่ 2 การศึกษาอัตราการตั้งท้อง อัตราการเข้าคลอดและขนาดครอกหลังการผสมเทียมด้วยน้ำเชื้อแช่แข็ง โดยรีดน้ำเชื้อจากพ่อสุกรและแช่แข็งที่ -196 ํC แล้วนำตัวอสุจิผสมเทียมแบบสอดท่อเข้าตัวมดลูก (IUI) ขนาดความเข้มข้นของอสุจิ 2.0x10 [ยกกำลัง 9] ตัว/มล. และแบบสอดท่อเข้าปีกมดลูกในสุกร (DIUI) ขนาดความเข้มข้น 1x10[ยกกำลัง 9] ตัว/ครั้ง จากการทดลองที่ 1 เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละของจำนวนตัวอ่อนที่พบภายในท่อนำไข่ซึ่งหมายถึงอัตราการปฏิสนธิในการทดลองนี้ด้านซ้ายและขวาของแม่สุกรแต่ละกลุ่มพบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (74.2% และ 75.2 %, p=0.94 สำหรับแม่สุกรกลุ่ม IUI และ 17.82% และ 18.81%, p=0.76 สำหรับแม่สุกรกลุ่ม DIUI) จากการศึกษาพบว่าอัตราการผสมติดตั้งท้องของแม่สุกรกลุ่ม IUI มีค่าเท่ากับ 88.9% (8/9) ในขณะที่แม่สุกรกลุ่ม DIUI มีค่าเป็น 66.7% (6/9) โดยอัตราการผสมติดของแม่สุกรทั้งสองกลุ่มนี้ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติและยังไม่แตกต่างกับผลของแม่สุกรกลุ่มที่ถูกผสมจริงด้วยพ่อสุกร ซึ่งถือเป็นกลุ่มควบคุม (80.9%, 59/73) (p=0.8) จากการศึกษาในครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่า น้ำเชื้อสุกรแช่แข็งที่ถูกผลิตขึ้นในประเทศไทย เมื่อนำไปใช้ผสมเทียมในแม่สุกรแบบการฉีดเข้าสู่มดลูกโดยตรง (DIUI และ IUI) นั้น สามารถลดจำนวนอสุจิที่ต้องใช้ต่อการผสมในแต่ละครั้งลงได้ โดยที่ยังคงมีอัตราการปฏิสนธิ อัตราการเข้าคลอดและขนาดครอกอยู่ในระดับที่น่าพอใจหากทำการผสมในช่วงเวลาที่ใกล้เคียงกับเวลาตกไข่มากที่สุด ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ที่จะมีการผลิตน้ำเชื้อสุกรแช่แข็งในเชิงพาณิชย์ขึ้นในประเทศไทย เพื่อใช้สำหรับการผสมเทียมหรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ ต่อไป ซึ่งในที่สุดแล้วเป็นประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมการผลิตสุกรของประเทศไทยในอนาคต To develop technique for cryopreservation of boar semen and to investigate fertilization rate, conception rate, farrowing rate and number of total piglets born/litter after artificial insemination with the frozen-thaw boar semen. Two experiments were conducted. Experimental I was performed to investigate the fertilization rate after artificial insemination with frozen-thaw boar semen and experimental II was performed to investigate the conception rate, the farrowing rate and the total number of piglets born/litter. The semen was collected from proven sires from swine commercial herds. Sperm-rich fraction ejaculates were cryopreserved at -196 ํC. The artificial insemination was performed using an intra-uterine insemination technique (IUI) with 2.0x10 [superscript 9] spz/ml and a deep intra-uterine insemination technique (DIUI) with 1x10 [superscript 9] spz/ml. Experimental I revealed that the proportion of embryo found in the oviducts, indicating the fertilization rate, did not differed significantly between the left and the right sides of the oviducts (74.2% vs 75.2%, p = 0.94 for IUI group and 17.82% vs 18.81%, p=0.76 for DIUI group). The conception rate of sows was 88.9% (8/9) in the IUI group and 66.7% (6/9) in the DIUI group (p>0.05). The conception rate between the IUI and the DIUI group was not significantly difference and it was not differ significantly from the natural mating within the same herd (80.9%, 59/73) (p=0.8). It counld be concluded that using the new artificial insemination technique in pig i.e., IUI and DIUI with frozen boar semen, produced in Thailand, resulted in an acceptable level of fertilization and reproductive performance. However, an accurate insemination time in relation to ovulation should be aware. These results implied that the production of cryopreserved boar semen in Thailand might be applied to commercial scale for an advance artificial insemination as well as other biotechnological technique in the livestock animals. This technology could be used as a tool to improve the efficacy of pig industry in Thailand within a near future. เงินทุนงบประมาณแผ่นดิน ปี พ.ศ. 2549 2010-02-20T07:43:57Z 2010-02-20T07:43:57Z 2550 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12029 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2374639 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย