การใช้เทคนิคการคิดออกเสียงเป็นเครื่องมือในการวินิจฉัยความสามารถ ในการแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์เพื่อจัดสอนซ่อมเสริม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุดารัตน์ มนต์นิมิตร
Other Authors: พวงแก้ว ปุณยกนก
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12261
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.12261
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ความคิดและการคิด
คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
การสอนซ่อมเสริม
spellingShingle ความคิดและการคิด
คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
การสอนซ่อมเสริม
สุดารัตน์ มนต์นิมิตร
การใช้เทคนิคการคิดออกเสียงเป็นเครื่องมือในการวินิจฉัยความสามารถ ในการแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์เพื่อจัดสอนซ่อมเสริม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
author2 พวงแก้ว ปุณยกนก
author_facet พวงแก้ว ปุณยกนก
สุดารัตน์ มนต์นิมิตร
format Theses and Dissertations
author สุดารัตน์ มนต์นิมิตร
author_sort สุดารัตน์ มนต์นิมิตร
title การใช้เทคนิคการคิดออกเสียงเป็นเครื่องมือในการวินิจฉัยความสามารถ ในการแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์เพื่อจัดสอนซ่อมเสริม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
title_short การใช้เทคนิคการคิดออกเสียงเป็นเครื่องมือในการวินิจฉัยความสามารถ ในการแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์เพื่อจัดสอนซ่อมเสริม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
title_full การใช้เทคนิคการคิดออกเสียงเป็นเครื่องมือในการวินิจฉัยความสามารถ ในการแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์เพื่อจัดสอนซ่อมเสริม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
title_fullStr การใช้เทคนิคการคิดออกเสียงเป็นเครื่องมือในการวินิจฉัยความสามารถ ในการแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์เพื่อจัดสอนซ่อมเสริม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
title_full_unstemmed การใช้เทคนิคการคิดออกเสียงเป็นเครื่องมือในการวินิจฉัยความสามารถ ในการแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์เพื่อจัดสอนซ่อมเสริม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
title_sort การใช้เทคนิคการคิดออกเสียงเป็นเครื่องมือในการวินิจฉัยความสามารถ ในการแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์เพื่อจัดสอนซ่อมเสริม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12261
_version_ 1681411832758140928
spelling th-cuir.122612010-03-16T04:08:06Z การใช้เทคนิคการคิดออกเสียงเป็นเครื่องมือในการวินิจฉัยความสามารถ ในการแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์เพื่อจัดสอนซ่อมเสริม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 A use of think aloud technique as a diagnostic tool in investigating the ability to solve mathematic problems for remedial teaching for mathayomsuksa three students สุดารัตน์ มนต์นิมิตร พวงแก้ว ปุณยกนก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ ความคิดและการคิด คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) การสอนซ่อมเสริม วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 ศึกษากระบวนการคิดและวิธีคิดแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์ วิเคราะห์วิธีคิดของนักเรียนกลุ่มที่ได้คะแนนผ่านเกณฑ์ที่กำหนด วินิจฉัยข้อบกพร่องในวิธีคิด และศึกษาผลของการสอนซ่อมเสริมตามวิธีคิดที่บกพร่องที่ค้นพบจากการทดสอบ โดยใช้เทคนิคการคิดออกเสียงที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์ ตัวอย่างประชากรเป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2544 โรงเรียนมาบอำมฤตวิทยา จังหวัดชุมพร สังกัดกรมสามัญศึกษา จำนวน 30 คน นำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่และหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. วิธีคิดของนักเรียนในการนำไปใช้แก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์ มี 6 วิธีการ คือ 1) วิธีการกำหนดตัวแปรไม่ทราบค่า 2) วิธีการสร้างภาพ 3) วิธีการสร้างตาราง 4) วิธีการให้เหตุผล 5) วิธีการทำย้อนกลับ 6) วิธีการคาดคะเนและตรวจสอบ โดยมีนักเรียนบางคนใช้ 2 วิธีร่วมกันในการแก้ปัญหา 1 ข้อ 2. วิธีคิดที่นักเรียนกลุ่มที่ได้คะแนนผ่านเกณฑ์นำมาใช้ในการแก้ปัญหาโจทย์ คณิตศาสตร์แต่ละข้อ มากที่สุด คือ ข้อที่ 1. วิธีการคาดคะเนตรวจสอบ ข้อที่ 2. วิธีการให้เหตุผล ข้อที่ 3.วิธีการสร้างภาพ ข้อที่ 4 วิธีการสร้างตาราง ข้อที่ 5. วิธีการสร้างภาพ/วิธีการทำย้อนกลับ 3. ก่อนการสอนซ่อมเสริม นักเรียนมีข้อบกพร่องในวิธีคิด โดยมีสาเหตุจากการไม่รู้จักวิธีคิด มากที่สุด หลังการสอนซ่อมเสริม นักเรียนมีข้อบกพร่องในวิธีคิด โดยมีสาเหตุจากการใช้วิธีคิดไม่ถูกวิธีมากที่สุด 4. หลังการสอนซ่อมเสริม นักเรียนยังคงใช้วิธีเดิมในการแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์มากที่สุดคิดเป็น 40.7% รองลงมาคือ การเปลี่ยนวิธีคิด คิดเป็น 33.3% และไม่เกิดวิธีคิด คิดเป็น 16.7% ส่วนการใช้วิธีเดิมเสริมวิธีคิดใหม่ มีจำนวนน้อยที่สุด คิดเป็น 9.3% 5. การเปลี่ยนวิธีคิด ทำให้มีจำนวนนักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้น มากที่สุด รองลงมาคือ การใช้วิธีเดิมและการใช้วิธีเดิมเสริมวิธีใหม่ 6. ผลของการสอนซ่อมเสริม ทำให้มีนักเรียนได้คะแนนเพิ่มขึ้น คิดเป็น 40.0% มีนักเรียนได้คะแนนลดลง คิดเป็น 12.0% และมีนักเรียนได้คะแนนคงเดิม 48.0 To study the thinking process and the mathematic problem solving methods, to analyse the problem solving methods of students who pass the cutting point, to diagnose the deficiencies of mathematic problem solving methods and to study the effect of remedial teaching according to the deficiencies found by using Think Aloud Technique. The sample of this study was 30 Mathayom Saksa three student in 2001 academic year of Mabaummaritvittaya School, Chumporn,under the jurisdiction of the department of the department of general education. The frequency distribution and percentage distribution of the mathematic problem solving methods were analyzed. The result of this research revealed that: 1. Six mathematic problem solving methods were found. They were; 1) unknown variable method 2) diagramming method 3) tabulating method 4) reasoning method 5) work backward method 6) guess and check method. 2. The mathematic problem solving methods used by students who pass the cutting point were ranging from; 1) guess and check method 2) reasoning method 3) diagramming method 4) tabulating method 5) diagramming method with backward method 3.The main deficiency found before the remedial teaching was the lack of knowledge about mathematic problem solving methods but after receiving the remedial teaching it was found that using wrong methods caused the deficiencies of the mathematic problem solving methods most. 4. After receiving the remedial teaching the students used the mathematic problem solving methods ranging from; unchanged method 40.7%, using new method 33.3%, no capability to solve the problem 16.7% and mixed methods 9.3%. 5. The order of mathematic problem solving method the increasing students score were ranging from; new method, old method and old method with new method. 6.After the remedial teaching students can increase score 40.0%, decrease score 12.0% and unchanged score 48.0%. 2010-03-16T04:08:04Z 2010-03-16T04:08:04Z 2545 Thesis 9741727496 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12261 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3204512 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย