การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารขององค์กรพัฒนาเอกชนไทยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12439 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.12439 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
โฆษณาทางอินเตอร์เน็ต องค์กรพัฒนาเอกชน เวิลด์ไวด์เว็บ การวิเคราะห์เนื้อหา เว็บไซต์ |
spellingShingle |
โฆษณาทางอินเตอร์เน็ต องค์กรพัฒนาเอกชน เวิลด์ไวด์เว็บ การวิเคราะห์เนื้อหา เว็บไซต์ พรเพ็ญ พยัตยากุล การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารขององค์กรพัฒนาเอกชนไทยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต |
description |
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 |
author2 |
วิภา อุตมฉันท์ |
author_facet |
วิภา อุตมฉันท์ พรเพ็ญ พยัตยากุล |
format |
Theses and Dissertations |
author |
พรเพ็ญ พยัตยากุล |
author_sort |
พรเพ็ญ พยัตยากุล |
title |
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารขององค์กรพัฒนาเอกชนไทยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต |
title_short |
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารขององค์กรพัฒนาเอกชนไทยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต |
title_full |
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารขององค์กรพัฒนาเอกชนไทยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต |
title_fullStr |
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารขององค์กรพัฒนาเอกชนไทยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต |
title_full_unstemmed |
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารขององค์กรพัฒนาเอกชนไทยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต |
title_sort |
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารขององค์กรพัฒนาเอกชนไทยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2010 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12439 |
_version_ |
1681412505759383552 |
spelling |
th-cuir.124392010-03-31T03:32:05Z การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารขององค์กรพัฒนาเอกชนไทยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต The information dissemination of Thai NGOs on Internet networking พรเพ็ญ พยัตยากุล วิภา อุตมฉันท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย โฆษณาทางอินเตอร์เน็ต องค์กรพัฒนาเอกชน เวิลด์ไวด์เว็บ การวิเคราะห์เนื้อหา เว็บไซต์ วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงเป้าหมายและรูปแบบของเนื้อหา รวมทั้งกลยุทธ์สื่อสารขององค์กรพัฒนาเอกชนไทยบนเวิลด์ไวด์เว็บผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์องค์กรพัฒนาเอกชนที่ศึกษามีจำนวน 21 เว็บไซต์ ภายใต้กรอบแนวคิดเรื่องของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และกลยุทธ์การโฆษณาประชาสัมพันธ์บนเวิลด์ไวด์เว็บ ผลการวิจัยพบว่า เป้าหมายในการสื่อสารบนเวิลด์ไวด์เว็บขององค์กรพัฒนาเอกชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมแบ่งเป็น 3 ระดับ เป้าหมายในระดับของการเปลี่ยนแปลงทางความคิดมีมากที่สุด ในระดับต่อมาคือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ให้ผู้รับสารเข้าร่วมกิจกรรมกับองค์กรที่มีลักษณะต่อเนื่อง ส่วนระดับการเปลี่ยนแปลงการกระทำมีจำนวนน้อยที่สุด สำหรับรายละเอียดด้านเป้าหมายและรูปแบบเนื้อหาในการสื่อสาร สรุปได้ดังนี้ 1. เป้าหมายเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางความคิด จำนวน 11 เว็บไซต์ มีลักษณะที่สร้างการตระหนักรู้การให้ความรู้ในข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ผู้รับสารนำข้อมูลที่มีอยู่ไปประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสม โดยรูปแบบเนื้อหามีลักษณะการให้ข้อมูลข่าวสารขององค์กรและการเป็นแหล่งข้อมูลในหลายรูปแบบ 2. เป้าหมายเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม จำนวน 7 เว็บไซต์ มีลักษณะที่สร้างการตระหนักรู้ความเข้าใจในข้อมูลข่าวสาร โน้มน้าวใจให้ปรับเปลี่ยนทัศนคติ และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เคยกระทำอย่างต่อเนื่องของผู้รับสาร โดยรูปแบบเนื้อหามีลักษณะให้ข้อมูลข่าวสารองค์กร บทความ กิจกรรมความเคลื่อนไหว รวมทั้งกิจกรรมที่ผู้รับสารสามารถเข้าร่วมเพื่อนำไปสู่การปรับพฤติกรรม 3. เป้าหมายเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางการกระทำจำนวน 3 เว็บไซต์ มีลักษณะที่สร้างการตระหนักรู้ให้ความรู้ ความเข้าใจในข้อมูลข่าวสาร และโน้มน้าวใจให้ผู้รับสารเข้าใจถึงจุดประสงค์ขององค์กรอันนำไปสู่การเข้าร่วมกิจกรรมที่ใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็นครั้งคราว โดยรูปแบบเนื้อหามีลักษณะให้ข้อมูลข่าวสารองค์กร บทความ และเนื้อหาที่เชิญชวนให้ร่วมกิจกรรมที่มีลักษณะสั้นๆ ด้านกลยุทธ์ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารขององค์กรพัฒนาเอกชนบนเวิลด์ไวด์เว็บมี 3 กระบวนการคือ 1. กลยุทธ์การทำให้ผู้รับสารสนใจเข้ามายังเว็บไซต์ มี 3 วิธีการซึ่งเรียงลำดับตามความนิยม คือ (1) การลงทะเบียนในระบบสืบค้น (2) การบอกต่อทางอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยการเชื่อมระหว่างเว็บไซท์ (3) การรณรงค์ด้วยการประชาสัมพันธ์ในสื่อปกติ ทั้งนี้ 2 วิธีแรกมีการใช้อย่างแพร่หลายเพราะการติดต่อขอลงทะเบียนและการเชื่อมโยงระหว่างเว็บไซต์สะดวกและไม่เสียค่าใช้จ่าย 2. กลยุทธ์การทำให้ผู้รับสารสนใจส่งที่นำเสนออย่างต่อเนื่อง ด้วยการสร้างคุณค่าบนเว็บไซต์ประกอบด้วยลักษณะร่วมกัน 3 รูปแบบคือ (1) ข้อมูลข่าวสารองค์กร (2)แหล่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์ (2.1) คลาสิฟายด์ (2.2) การช่วยเหลือ (2.3) กระดานข่าว (3) การระดมความช่วยเหลือ (3.1) การระดมความช่วยเหลือในระยะสั้น (3.2) การระดมความช่วยเหลือในระยะยาว 3. กลยุทธ์การทำให้ผู้รับสารกลับเข้ามาชมซ้ำอีกในภายหลัง ประกอบด้วย การให้ข้อมูลที่ทันสมัยและการรับสมัครสมาชิกรวบรวมรายชื่อเพื่อแจ้งข่าวกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง This research aims to study the purpose and the form of content as well as the strategies of the communication of Thai NGOs on the World Wide Web through the Internet network. The study examines 21 Web-sites under the paradigm of the social change and the advertising strategies on the World Wide Web. The research has found that purposes of the communication for social change on the World Wide Web of the Thai NGOs can be categorized into 3 levels. The cognitive change is the most frequently found. The second is the behavioral change, that is to motivate the receivers to constantly participate in the NGOs activities. The level of the action change is minimal. The detail of the purpose and the form of content can be concluded as follow: 1. Cognitive change. Eleven Web-sites have the characteristics of generating awareness and giving information that receivers may find applicable contents are to give information of the organization and to be sources of various other information. 2. Behavioral change. Seven Web-sites create awareness and the comprehension of the information which motivate changes of attitude and leading to changes in receivers' behavior. The form of content is to give the information of organization in the form of articles, organization's activities and the activities in which the receivers can participate. 3. Action change. Three Web-sites create awareness, give information and motivate the receivers to understand the purpose of the organization. This brings participation in Internal activities. The form of content is to give the information of the organization in the form of articles and to urge the receivers to participate in temporary and short-term activities. The strategies in disseminating information of the NGOs on the Web-sites consist of 3 process as follow: 1. To attract visitors to the Web-site. There are 3 methods to be categorized by their popularity: 1) Registration in search engine 2) An exploitation of electronic word of mouth effects by the link among the web-sites 3) The information push associated with traditional mass. The first and second methods are generally use because of their convenience in registration and the link among Web-sites, also because of their being free of charge. 2. The strategies to retain the receiver at the site by adding values to the site. They are composed of there common characteristics. 1) The information of the organization. 2) The useful source of information: 2.1) The classified section 2.2) The support center 2.3) Discussion Board 3) Help Seeking 3.1) Seeking for short period help. 3.2) Seeking for long period help. 3. The strategies to generate repeat visits which consist of providing up-dated information and collecting mailing list for constant report on the activities. 2010-03-31T03:32:05Z 2010-03-31T03:32:05Z 2541 Thesis 9746393103 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12439 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 809389 bytes 1307338 bytes 1451900 bytes 393228 bytes 4325659 bytes 2075571 bytes 804327 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |