นโยบายต่างประเทศของไทย : ศึกษากระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ต่อปัญหากัมพูชา (4 สิงหาคม ค.ศ. 1988 ถึง 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991)
วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12483 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.12483 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ชาติชาย ชุณหะวัณ, พล.อ., 2465-2541 ไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- กัมพูชา กัมพูชา -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- ไทย |
spellingShingle |
ชาติชาย ชุณหะวัณ, พล.อ., 2465-2541 ไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- กัมพูชา กัมพูชา -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- ไทย สุณัย ผาสุข นโยบายต่างประเทศของไทย : ศึกษากระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ต่อปัญหากัมพูชา (4 สิงหาคม ค.ศ. 1988 ถึง 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991) |
description |
วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 |
author2 |
เขียน ธีระวิทย์ |
author_facet |
เขียน ธีระวิทย์ สุณัย ผาสุข |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สุณัย ผาสุข |
author_sort |
สุณัย ผาสุข |
title |
นโยบายต่างประเทศของไทย : ศึกษากระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ต่อปัญหากัมพูชา (4 สิงหาคม ค.ศ. 1988 ถึง 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991) |
title_short |
นโยบายต่างประเทศของไทย : ศึกษากระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ต่อปัญหากัมพูชา (4 สิงหาคม ค.ศ. 1988 ถึง 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991) |
title_full |
นโยบายต่างประเทศของไทย : ศึกษากระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ต่อปัญหากัมพูชา (4 สิงหาคม ค.ศ. 1988 ถึง 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991) |
title_fullStr |
นโยบายต่างประเทศของไทย : ศึกษากระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ต่อปัญหากัมพูชา (4 สิงหาคม ค.ศ. 1988 ถึง 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991) |
title_full_unstemmed |
นโยบายต่างประเทศของไทย : ศึกษากระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ต่อปัญหากัมพูชา (4 สิงหาคม ค.ศ. 1988 ถึง 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991) |
title_sort |
นโยบายต่างประเทศของไทย : ศึกษากระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ต่อปัญหากัมพูชา (4 สิงหาคม ค.ศ. 1988 ถึง 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991) |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2010 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12483 |
_version_ |
1681412600358764544 |
spelling |
th-cuir.124832010-04-07T06:05:30Z นโยบายต่างประเทศของไทย : ศึกษากระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ต่อปัญหากัมพูชา (4 สิงหาคม ค.ศ. 1988 ถึง 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991) Thai foreign policy : a case study on the policy formulation process of General Chatichai Choonhawan 's government on the Cambodian problem (4 August 1988 to 23 February 1991) สุณัย ผาสุข เขียน ธีระวิทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย ชาติชาย ชุณหะวัณ, พล.อ., 2465-2541 ไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- กัมพูชา กัมพูชา -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- ไทย วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 เพื่อศึกษานโยบายต่างประเทศของรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ต่อปัญหากัมพูชา โดยเน้นปัจจัยที่เป็นสาเหตุของความขัดแย้ง และปฏิสัมพันธ์ลักษณะต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างหน่วยงาน และบุคคลฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการกำหนดนโยบายต่างประเทศ และการดำเนินนโยบายต่างประเทศของไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นายกรัฐมนตรี คณะที่ปรึกษาด้านนโยบายและกระทรวงการต่างประเทศ รวมทั้งศึกษาผลกระทบของความขัดแย้งระหว่างหน่วยงาน และบุคคลเหล่านี้ที่มีต่อความสำเร็จ หรือความล้มเหลวของรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ในการดำเนินนโยบายต่อปัญหากัมพูชา ผลการวิจัยพบว่า ความขัดแย้งในกระบวนการกำหนดนโยบายต่างประเทศ และการดำเนินนโยบายต่างประเทศต่อปัญหากัมพูชาของรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ มีสาเหตุหลักมาจากจุดยืนที่แตกต่างกันระหว่างฝ่ายทำเนียบรัฐบาล และกระทรวงการต่างประเทศ โดยขณะที่นายกรัฐมนตรี และคณะที่ปรึกษาด้านนโยบายริเริ่มใหม่ด้วยการติดต่อกับระบอบเฮง สัมรินอย่างเปิดเผย และเสนอให้แก้ไขปัญหากัมพูชาไปทีละประเด็น รวมทั้งได้ประกาศนโยบาย "เปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า" เพื่อฟื้นฟูความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับประเทศในคาบสมุทรอินโดจีนนั้น กระทรวงการต่างประเทศยังคงเชื่อมั่นในความถูกต้องของนโยบายแนวทางเดิมที่เน้นการร่วมมือกับอาเซียน จีน สหรัฐอเมริกา และมิตรประเทศอื่นๆ กดดันเวียดนาม และระบอบเฮง สัมรินด้วยมาตรการทางการเมือง เศรษฐกิจ และการทหารอย่างแข็งกร้าวเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการแก้ไขปัญหากัมพูชาอย่างสมบูรณ์แบบ ซึ่งในที่สุดแล้วฝ่ายทำเนียบรัฐบาลได้เข้ามามีบทบาทในกระบวนการกำหนดนโยบายต่างประเทศ และการดำเนินนโยบายต่างประเทศต่อปัญหากัมพูชามากกว่ากระทรวงการต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม นโยบายต่างประเทศตามแนวทางของฝ่ายทำเนียบรัฐบาลเป็นอุปสรรคต่อกระบวนการเจรจาเพื่อสร้างสันติภาพในกัมพูชา เนื่องจากสาเหตุสำคัญสองประการ คือ (1) เป็นนโยบายที่สร้างความเป็นต่อให้กับระบอบเฮง สัมริน และกีดกันเขมรแดง และ (2) เป็นนโยบายดำเนินไปในทางที่มุ่งสร้างความโดดเด่นให้กับนายกรัฐมนตรี และคณะที่ปรึกษาด้านนโยบาย โดยขาดทักษะทางการฑูตที่เหมาะสม สำหรับการติดต่อค้าขายกับระบอบเฮง สัมรินตามนโยบาย "เปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า" นั้น ผลการวิจัยพบว่า นักธุรกิจไทยไม่ประสบความสำเร็จมากเหมือนกับที่มีการประชาสัมพันธ์เอาไว้ ทั้งนี้สาเหตุสำคัญส่วนหนึ่งมาจากปัญหาการสู้รบในกัมพูชาที่ยังคงดำเนินอยู่ This study aims at analysing General Chatichai Choonhawan government's policy regarding the Cambodian problem. The emphasis is laid on the governmental politics, especially, the conflicts in Policy fomulation and policy implementation between General Chatichai's advisory team and the Foreign Ministry. The study also examines the effects of such conflicts upon the Thai foreign policy objectives. The research undertaken reveals that the major causes of conflicts in Thai foreign policies came from different viewpoints between the two agencies in the Thai government. The Prime Minister and his policy advisors adopted new approach by introducing "step-by-step" measures to solve the Cambodian problem and initiating a direct contact with the Heng Samrin regime. Furthermore, General Chatichai had announced a policy to turn Indochina from "a battle field into a marketplace." Amidst all these changes, the Ministry of Foreign Affairs still followed its approach which relied on cooperative actions with ASEAN, China, the United States and other countries to put political, economic and military pressures on Vietnam and the People's Republic of Kampuchea so as to achieve the comprehensive political resolution of the Cambodian problem. Over times, the Prime Minister and his policy advisors could manage to dominate and guide the direction of Thai foreign policies towards the Cambodian problem. These development, however, weakened the Thai position and obstructed the peace negotiation process because: (1) the policies initiated by the Prime Minister and his advisor had strengthened the People's Republic of Kampuchea while another key faction -- the Khmer Rouge -- had been excluded from the negotiation process; and (2) the Prime Minister and his advisors lacked proper diplomatic skills required to obtain a foreign policy obfective. Regarding the promotion of trade and investment with Cambodia, it is found that Thai businessman could not achieve much success or effectively reap benefit from economic activities mainly due to the prolonged armed conflicts in Cambodia. 2010-04-07T06:05:29Z 2010-04-07T06:05:29Z 2539 Thesis 9746363379 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12483 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 440441 bytes 1115008 bytes 2543796 bytes 1677485 bytes 643923 bytes 1550210 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf กัมพูชา ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |