การลดของเสียที่เกิดจากการถ่ายเทกระแสไฟฟ้าสถิต ในกระบวนการประกอบหัวอ่านโดยใช้ระเบียบวิธีซิกซ์ซิกม่า
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12623 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.12623 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.126232010-05-07T02:30:12Z การลดของเสียที่เกิดจากการถ่ายเทกระแสไฟฟ้าสถิต ในกระบวนการประกอบหัวอ่านโดยใช้ระเบียบวิธีซิกซ์ซิกม่า Reduction of defects from electrostatic discharge in the head gimbal stack assembly line by applying the six sigma method นวลพรรณ ใจงาม ปารเมศ ชุติมา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ ฮาร์ดดิสก์ ไฟฟ้าสถิต การควบคุมคุณภาพ ซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ) วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 เสนอแนวทางการควบคุมคุณภาพโดยใช้แนวทางของซิกซ์ซิกม่า เพื่อปรับปรุงข้อบกพร่องอันเนื่องมาจากการถ่ายเทกระแสไฟฟ้าสถิต (Electrostatic Discharge) ของกระบวนการประกอบหัวอ่านและบันทึก ระบบการดำเนินการคุณภาพตามแนวทางของซิกซ์ซิกม่า จะใช้หลักการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติเป็นสำคัญ ขั้นตอนจะประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอนที่ใช้เป็นหลักในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา คือ การวัดเพื่อกำหนดหาสาเหตุของปัญหา (Measure) การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (Analyze) การปรับปรุงแก้ไขกระบวนการ (Improve) การควบคุมตัวแปรต่างๆ (Control) ในแต่ละขั้นของการสำรวจผลวิจัยสามารถระบุสาเหตุของปัญหา และแก้ไขโดยใช้หลักการทางสถิติวิศวกรรมที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ซึ่งขั้นตอนเริ่มต้นของการศึกษาได้ศึกษาความแม่นยำและความถูกต้อง ของระบบการวัด การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาทำโดยแผนภาพแสดงเหตุและผล และเชื่อมโยงเพื่อหาความรุนแรงของปัญหาด้วยวิธีการ FMEA หลังจากนั้นวิเคราะห์สาเหตุต่างๆ เหล่านั้นว่ามีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อ กระบวนการประกอบหัวอ่านและบันทึก เมื่อสามารถระบุถึงสาเหตุของปัญหาขั้นตอนต่อไปคือ การปรับปรุงเพื่อลดอัตราข้อบกพร่อง โดยใช้หลักการทางสถิติวิศวกรรม เพื่อเป็นการยืนยันผลการทดลองเช่นเดียวกัน สุดท้ายคือการจัดทำมาตรการควบคุมและป้องกันปัญหา จากการดำเนินการคุณภาพตามแนวทางของซิกซ์ซิกม่า พบว่าอัตราส่วนข้อบกพร่องจากการถ่ายเทกระแสไฟฟ้าสถิติ สามารถลดลงจาก 31,600 DPPM เป็น 7,890 DPPM หรือเมื่อเปรียบเทียบในระดับ sigma สามารถปรับปรุงจากระดับ 3.36 เป็นที่ระดับ 3.91 และสามารถลดค่าความเสียหายและได้รับผลประโยชน์ตอบแทน จากการปรับปรุงคุณภาพได้ถึง 163,999 ดอลล่าร์สหรัฐภายในระยะเวลาสองไตรมาส This research has been performed on the head gimbal stack assembly in the disc drive manufacturing. The research aims to reduce the defects of Electrostatic Discharge which causes high fallout in the head gimbal stack assembly. Six Sigma Method is used as a process tools in this research. It consists 4 phases which are measurement phase, analyze phase, improvement phase and control phase. In each phase of Six Sigma method mainly the statistical techniques to make decisions for any key input process variables by using alpha = 0.05. The first phase is to determine the repeatability and reproducibility of electrical measurement tester. Key process input variables and listed by cause and effect diagram and FMEA (Failure Mode Effect Analysis). The second phase is to use statistic to analyze the actual root causes. The third part is to improve all the key process input to reduce ESD defect and control in the addeptance level by control phase. After an experiment are concluded, DPPM has showed significantly improvement. The fallout has been reduced from 31,600 DPPM in September' 1999 to be 7,890 DPPM in March' 2000. The sigma level improves from 3.36 to be 3.91. The overall cost reduction is reported to be 163,999 $ in two quarters during research timeframe. 2010-05-07T02:30:11Z 2010-05-07T02:30:11Z 2542 Thesis 9743339965 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12623 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 424139 bytes 672852 bytes 2174834 bytes 344987 bytes 6706616 bytes 1320396 bytes 2503460 bytes 687532 bytes 349012 bytes 204431 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ฮาร์ดดิสก์ ไฟฟ้าสถิต การควบคุมคุณภาพ ซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ) |
spellingShingle |
ฮาร์ดดิสก์ ไฟฟ้าสถิต การควบคุมคุณภาพ ซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ) นวลพรรณ ใจงาม การลดของเสียที่เกิดจากการถ่ายเทกระแสไฟฟ้าสถิต ในกระบวนการประกอบหัวอ่านโดยใช้ระเบียบวิธีซิกซ์ซิกม่า |
description |
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 |
author2 |
ปารเมศ ชุติมา |
author_facet |
ปารเมศ ชุติมา นวลพรรณ ใจงาม |
format |
Theses and Dissertations |
author |
นวลพรรณ ใจงาม |
author_sort |
นวลพรรณ ใจงาม |
title |
การลดของเสียที่เกิดจากการถ่ายเทกระแสไฟฟ้าสถิต ในกระบวนการประกอบหัวอ่านโดยใช้ระเบียบวิธีซิกซ์ซิกม่า |
title_short |
การลดของเสียที่เกิดจากการถ่ายเทกระแสไฟฟ้าสถิต ในกระบวนการประกอบหัวอ่านโดยใช้ระเบียบวิธีซิกซ์ซิกม่า |
title_full |
การลดของเสียที่เกิดจากการถ่ายเทกระแสไฟฟ้าสถิต ในกระบวนการประกอบหัวอ่านโดยใช้ระเบียบวิธีซิกซ์ซิกม่า |
title_fullStr |
การลดของเสียที่เกิดจากการถ่ายเทกระแสไฟฟ้าสถิต ในกระบวนการประกอบหัวอ่านโดยใช้ระเบียบวิธีซิกซ์ซิกม่า |
title_full_unstemmed |
การลดของเสียที่เกิดจากการถ่ายเทกระแสไฟฟ้าสถิต ในกระบวนการประกอบหัวอ่านโดยใช้ระเบียบวิธีซิกซ์ซิกม่า |
title_sort |
การลดของเสียที่เกิดจากการถ่ายเทกระแสไฟฟ้าสถิต ในกระบวนการประกอบหัวอ่านโดยใช้ระเบียบวิธีซิกซ์ซิกม่า |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2010 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12623 |
_version_ |
1681410035606880256 |