การประเมินความต้องการจำเป็นของครูเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็กพิเศษ ในโรงเรียนที่จัดการเรียนร่วม
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12668 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.12668 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.126682010-05-31T03:40:04Z การประเมินความต้องการจำเป็นของครูเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็กพิเศษ ในโรงเรียนที่จัดการเรียนร่วม A needs assessment of the teachers for supporting and developing the learning of exceptional children in inclusion schools หนึ่งฤทัย ชัยยา วรรณี แกมเกตุ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ การประเมินความต้องการจำเป็น การศึกษาพิเศษ การเรียนร่วมของเด็กพิเศษ เด็กพิเศษ วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อประเมินความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพของเด็กพิเศษในโรงเรียนระดับประถมศึกษา ที่มีการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนร่วมของครูในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อเปรียบเทียบความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพของเด็กพิเศษในโรงเรียนระดับประถมศึกษา ที่มีการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนร่วมของครูในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน ในด้านเพศ อายุ ประสบการณ์การสอนร่วม ตำแหน่งงาน และประเภทครู การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในการประเมินความต้องการจำเป็น จากกลุ่มตัวอย่างครูในโรงเรียนแกนนำในการจัดการเรียนร่วมในเขตกรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ 3 ทาง และใช้สูตร PNImodified สำหรับกำหนดความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการประเมินและการจัดลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น เพื่อใช้ในการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเด็กพิเศษโดยใช้การวิเคราะห์ดัชนีการจัดเรียงลำดับ PNImodified พบว่าประเด็นที่มีค่า PNImodified สูงสุดคือ การประสานงานกันระหว่างครูและนักจิตวิทยาและแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งถือเป็นความต้องการจำเป็นเร่งด่วน 2. ผลการเปรียบเทียบความต้องการจำเป็นของครู ในการจัดการเรียนร่วมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเด็กพิเศษ จำแนกตามตัวแปรระดับการศึกษา พบว่า ครูที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีความต้องการจำเป็นของครูจำแนกตามตัวแปรประสบการณ์การเรียนร่วม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการเปรียบเทียบความต้องการจำเป็น โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ 3 ทาง พบว่า ตัวแปรเพศ อายุ และประเภทครู ร่วมกันส่งผลต่อความต้องการจำเป็นในภาพรวมของครู To 1) assess the needs of the teachers in supporting and developing learning of exceptional children in inclusion schools 2) compare the needs of the teacher for supporting and developing learning of exceptional children in inclusion schools. This research used a survey method to collect the data to assess the needs. The samples were teachers from the ministry of inclusion school belonging to the office of the basic education commission (OBEC) in the Ministry of Education. Data analysis of the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA and Modified Priority Needs Index formula (PNImodified) was needs to set the order of according to importance needs. The finding results were as follows : 1.The Assessment of the needs for supporting and developing learning of exceptional children used the Modified Priority Needs Index formula (PNImodified) was needs to set the order of according to importance needs. The most important need seen as an urgent was issue coordination between teacher, psychologist, and expert doctor. 2. The study conducted compare the needs assessment of the teachers for supporting and developing learning of exceptional children in inclusion schools considering two different variables; teacher with either a bachelor’s degree or with a master’s degree and teachers according to their different experiences. The result showed a significant in statistics of .05. The difference made apparent that teacher with a bachelor’s degree has a greater needs. 3. The result of there way analysis of variance it is apparent that are three variables ; age, sex and the type of teacher. All of three variable have a noticeable effect on the needs assessment of the teachers. 2010-05-31T03:40:03Z 2010-05-31T03:40:03Z 2549 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12668 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1643279 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การประเมินความต้องการจำเป็น การศึกษาพิเศษ การเรียนร่วมของเด็กพิเศษ เด็กพิเศษ |
spellingShingle |
การประเมินความต้องการจำเป็น การศึกษาพิเศษ การเรียนร่วมของเด็กพิเศษ เด็กพิเศษ หนึ่งฤทัย ชัยยา การประเมินความต้องการจำเป็นของครูเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็กพิเศษ ในโรงเรียนที่จัดการเรียนร่วม |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
author2 |
วรรณี แกมเกตุ |
author_facet |
วรรณี แกมเกตุ หนึ่งฤทัย ชัยยา |
format |
Theses and Dissertations |
author |
หนึ่งฤทัย ชัยยา |
author_sort |
หนึ่งฤทัย ชัยยา |
title |
การประเมินความต้องการจำเป็นของครูเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็กพิเศษ ในโรงเรียนที่จัดการเรียนร่วม |
title_short |
การประเมินความต้องการจำเป็นของครูเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็กพิเศษ ในโรงเรียนที่จัดการเรียนร่วม |
title_full |
การประเมินความต้องการจำเป็นของครูเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็กพิเศษ ในโรงเรียนที่จัดการเรียนร่วม |
title_fullStr |
การประเมินความต้องการจำเป็นของครูเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็กพิเศษ ในโรงเรียนที่จัดการเรียนร่วม |
title_full_unstemmed |
การประเมินความต้องการจำเป็นของครูเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็กพิเศษ ในโรงเรียนที่จัดการเรียนร่วม |
title_sort |
การประเมินความต้องการจำเป็นของครูเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็กพิเศษ ในโรงเรียนที่จัดการเรียนร่วม |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2010 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12668 |
_version_ |
1681410083413557248 |