ยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นันทนา เดชกำธร
Other Authors: สุธี พลพงษ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12743
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.12743
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การสื่อสาร
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
จิตสำนึก
เยาวชน -- ไทย
spellingShingle การสื่อสาร
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
จิตสำนึก
เยาวชน -- ไทย
นันทนา เดชกำธร
ยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
author2 สุธี พลพงษ์
author_facet สุธี พลพงษ์
นันทนา เดชกำธร
format Theses and Dissertations
author นันทนา เดชกำธร
author_sort นันทนา เดชกำธร
title ยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
title_short ยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
title_full ยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
title_fullStr ยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
title_full_unstemmed ยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
title_sort ยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12743
_version_ 1681409998549155840
spelling th-cuir.127432010-06-02T02:55:24Z ยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ Communication strategies to raise ecotourism conscious among Thai teenages นันทนา เดชกำธร สุธี พลพงษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ การสื่อสาร การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จิตสำนึก เยาวชน -- ไทย วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 วิเคราะห์ยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสำนึกเรื่องการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ให้กับเยาวชนไทย และวิเคราะห์แผนการปฏิบัติการสื่อสารในการสร้างจิตสำนึก การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาโดยใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เจาะลึกและการสังเกตการณ์ภาคสนาม โดยศึกษาโครงการเชิงอนุรักษ์ของ 4 องค์กรคือ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม มูลนิธิกระต่ายในดวงจันทร์และมูลนิธิพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยว ผลการศึกษาพบว่าทั้ง 4 หน่วยงานมียุทธศาสตร์เชิงนโยบายที่มุ่งเน้นไปเรื่องปัญหาของธรรมชาติและป่าไม้ การส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างความร่วมมือ การสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และการส่งเสริมการเดินทางท่องเที่ยวทัศนศึกษาอย่างถูกวิธีให้กับเยาวชน ซึ่งแต่ละหน่วยงานได้กำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการให้มีความสอดคล้องกับ นโยบายเพื่อเป็นกรอบในการทำงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ในการกำหนดนโยบายนั้นหน่วยงานจะพิจารณาว่า ปัญหาใดที่เป็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่พบในปัจจุบัน หรือเป็นปัญหาที่ต้องการการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ทั้งนี้จะพิจารณาจากนโยบายของภาครัฐเป็นองค์ประกอบว่า มีแนวโน้มที่ต้องการแก้ปัญหาอย่างไรบ้างเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนไทยพบว่า โครงการทั้ง 4 ได้ใช้ยุทธศาสตร์การสื่อสารทั้งแบบการมีส่วนร่วม การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กิจกรรมกลุ่มและการทดลองปฏิบัติ โดยเป็นกิจกรรมเชิงอนุรักษ์ที่เยาวชนได้มีส่วนร่วมในการสื่อสารระหว่างกันภายในกิจกรรมกลุ่ม โดยเรียนรู้และทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ร่วมกันสังเกต มีการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ทัศนคติ และประสบการณ์ภายในกลุ่มเยาวชน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการมีส่วนร่วมกับกิจกรรม ได้เรียนรู้เชิงประจักษ์คือได้รับประสบการณ์ตรง ได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง และได้ทดลองปฏิบัติกับกิจกรรมต่างๆ ซึ่งเป็นกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าและเกิดจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์ รวมถึงการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ แผนปฏิบัติการสื่อสารเพื่อสร้างจิตสำนึกวิเคราะห์ได้ว่า โครงการทั้ง 4 ใช้กลยุทธ์การสื่อสารที่แตกต่าง เช่น กลยุทธ์การสื่อสารด้วยเพลง เกมส์ ภาพ วิดีโอ บทกวี การแสดงละคร วิทยากร การแสดงดนตรีท้องถิ่น การใช้เทียนสร้างกิจกรรม (กิจกรรมพิธีเทียน) เป็นวิธีการสื่อสารเพื่อกระตุ้นให้เยาวชนเกิดความสนใจกับกิจกรรม อันจะนำไปสู่การรับรู้และความตระหนักด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ โดยสอดแทรกเนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ความรู้ในการท่องเที่ยวตามธรรมชาติ To analyze the communication strategies and strategic measures to raise the eco-tourism conscious among Thai teenagers. The research is based on a qualitative research methodology using an in-depth interview, field observation, and also a study of many conservative projects of 4 organizations. They are Tourism Authority of Thailand (TAT), The Department of Environmental Quality Promotion, The Rabbit in the Moon Foundation, and The Foundation for the Protection of Environment and Tourism. The study finds that all 4 organizations have familiar primary strategies with the following aims: i) to create the understanding of natural problems and environmental issues, ii) to pool the concerted effort in conserving the environment, and iii) to promote conservative traveling modes among teenagers. The objective of each project have been set up with an intention to ensure that the implementation will be carried out in the same direction. In formulating the plans, the organizations will consider the current environmental problems as well as the government’s environmental conservation policy with an intention to prioritize which problem requires a more urgent solution. From the above mentioned communication strategies, there are many communication methods used in those 4 projects. They are participation, empirical learning, group dynamic, and practical test. The activities allow teenagers to participate and communicate in group. They will learn how to work as a team, how to make an observation, and how to communicate with each other to share their knowledge, attitudes, and experiences within a group. The purpose of such activities is to let the participants learn empirically from direct experience so that they can create an in-depth understanding of environment conservation and eco-tourism. 2010-06-02T02:55:23Z 2010-06-02T02:55:23Z 2549 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12743 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3181646 bytes application/pdf application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย