การประเมินความเสียหายจากความล่าช้าในการก่อสร้าง ที่ส่งผลกระทบต่อผิวจราจร

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศาศวัต ภูริภัสสรกุล
Other Authors: วิศณุ ทรัพย์สมพล
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12759
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.12759
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic สัญญาก่อสร้าง
ค่าปรับ
การก่อสร้าง
spellingShingle สัญญาก่อสร้าง
ค่าปรับ
การก่อสร้าง
ศาศวัต ภูริภัสสรกุล
การประเมินความเสียหายจากความล่าช้าในการก่อสร้าง ที่ส่งผลกระทบต่อผิวจราจร
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
author2 วิศณุ ทรัพย์สมพล
author_facet วิศณุ ทรัพย์สมพล
ศาศวัต ภูริภัสสรกุล
format Theses and Dissertations
author ศาศวัต ภูริภัสสรกุล
author_sort ศาศวัต ภูริภัสสรกุล
title การประเมินความเสียหายจากความล่าช้าในการก่อสร้าง ที่ส่งผลกระทบต่อผิวจราจร
title_short การประเมินความเสียหายจากความล่าช้าในการก่อสร้าง ที่ส่งผลกระทบต่อผิวจราจร
title_full การประเมินความเสียหายจากความล่าช้าในการก่อสร้าง ที่ส่งผลกระทบต่อผิวจราจร
title_fullStr การประเมินความเสียหายจากความล่าช้าในการก่อสร้าง ที่ส่งผลกระทบต่อผิวจราจร
title_full_unstemmed การประเมินความเสียหายจากความล่าช้าในการก่อสร้าง ที่ส่งผลกระทบต่อผิวจราจร
title_sort การประเมินความเสียหายจากความล่าช้าในการก่อสร้าง ที่ส่งผลกระทบต่อผิวจราจร
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12759
_version_ 1681409695497060352
spelling th-cuir.127592010-06-02T05:56:54Z การประเมินความเสียหายจากความล่าช้าในการก่อสร้าง ที่ส่งผลกระทบต่อผิวจราจร Evaluation of losses due to delay in construction projects which affect road surface ศาศวัต ภูริภัสสรกุล วิศณุ ทรัพย์สมพล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ สัญญาก่อสร้าง ค่าปรับ การก่อสร้าง วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 การก่อสร้างระบบสาธารณูปโภคที่ล่าช้ากว่ากำหนด นอกจากส่งผลกระทบต่อเจ้าของงานแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อผู้ใช้ถนนเพิ่มมากขึ้น ในปัจจุบันถ้าผู้รับจ้างดำเนินงานก่อสร้างแล้วเสร็จล่าช้ากว่าสัญญา โดยส่วนใหญ่ต้องเสียค่าปรับซึ่งกำหนดเป็นอัตราตายตัว ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีที่มีการเริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 ทำให้อัตราค่าปรับที่กำหนดใช้ ไม่สะท้อนถึงความสูญเสียที่แท้จริงจากความล่าช้าของโครงการ การศึกษานี้วิเคราะห์ถึงความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อเจ้าของงาน และผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อผู้ใช้ถนน เพื่อนำไปเป็นเกณฑ์ในการกำหนดค่าปรับจากความล่าช้าในการก่อสร้าง โดยใช้ข้อมูลของ 3 หน่วยงาน ได้แก่ การประปานครหลวง การไฟฟ้านครหลวง และกรุงเทพมหานคร เป็นกรณีศึกษาจำนวน 8 โครงการ การประเมินความเสียหายของหน่วยงานจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ พารามิเตอร์ที่ส่งผลทำให้เกิดความเสียหายต่อหน่วยงาน เมื่อการก่อสร้างล่าช้ากว่ากำหนด ซึ่งการไฟฟ้านครหลวงและการประปานครหลวงมีวิธีการคิดที่คล้ายกัน โดยประเมินจากรายได้ที่ต้องเสียไปจากการขายไฟฟ้าหรือน้ำประปา หักด้วยค่าดำเนินการ ค่าซ่อมแซมและค่าบริหารจัดการรวมถึงภาระในการจ่ายดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้น ส่วนกรุงเทพมหานครไม่มีรายได้จากการดำเนินงาน จึงประเมินจากภาระในการจ่ายดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้น และผลประโยชน์ที่ประชาชนต้องเสียไปจากการใช้ประโยชน์ในโครงการก่อสร้าง ซึ่งในระหว่างการก่อสร้างของ 3 หน่วยงานมักส่งผลกระทบต่อผู้ใช้ถนน ซึ่งการประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อผู้ใช้ถนน พิจารณาจากค่าใช้จ่ายในการใช้รถ (Vehicle operating costs) และความสูญเสียด้านเวลาในการเดินทางของผู้ใช้รถ (Driver delay costs) ที่เพิ่มขึ้นจากการลดลงของความเร็วก่อนการก่อสร้าง และระหว่างการก่อสร้างโครงการ โดยปัจจัยที่มีผลทำให้ความเร็วเปลี่ยนแปลง คือ ปริมาณการจราจร จำนวนช่องทางจราจร ความกว้างช่องทางจราจร ชนิดของเกาะกลางถนน ระยะจากขอบถนนถึงไหล่ทาง และระยะจากขอบถนนถึงเกาะกลางถนนที่เปลี่ยนแปลงไปจากสภาพถนนเดิม ผลการศึกษา พบว่ามูลค่าของค่าปรับที่คำนวณจากแบบจำลองมีค่าอยู่ในช่วง 0.018%-0.441% ของมูลค่าโครงการมีจำนวน 5 โครงการที่ค่าความเสียหายที่ได้จากแบบจำลองต่ำกว่าค่าปรับ ที่กำหนดไว้ในสัญญาก่อสร้างและ 3 โครงการที่ค่าความเสียหายมากกว่าค่าปรับที่กำหนดไว้ในปัจจุบัน สาเหตุที่ค่าปรับจากแบบจำลองมีค่าต่ำกว่า เพราะไม่ได้พิจารณาครอบคลุมทุกพารามิเตอร์ ได้แก่ การประหยัดได้ของค่าใช้จ่ายของยานพาหนะ และเวลาในการเดินทางของผู้ใช้ถนนในการก่อสร้างสะพานข้ามทางแยกและการซ่อมแซมผิวการจราจร ความพึงพอใจจากการใช้ไฟฟ้าและน้ำประปาเนื่องจากไม่มีการจัดเก็บข้อมูล และโครงการก่อสร้างดังกล่าวมักก่อสร้างเฉพาะเวลากลางคืนทำให้ผลกระทบที่เกิดขึ้นมีมูลค่าต่ำกว่าการก่อสร้างที่ส่งผลกระทบต่อผู้ใช้ถนนตลอดวัน ค่าความเสียหายส่วนใหญ่จะมีผลมาจากค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นของผู้ใช้ถนนในระหว่างการก่อสร้างและประโยชน์ที่ประชาชนต้องสูญเสียไปจากความล่าช้าของการก่อสร้าง แม้ว่าค่าความเสียหายที่คำนวณได้จากแบบจำลองจะแตกต่างจากค่าปรับที่กำหนดไว้ แต่ประโยชน์ของการศึกษานี้ทำให้สามารถทราบแนวทางในการประเมินความเสียหายจากความล่าช้าในการก่อสร้างที่ส่งผลกระทบต่อผิวจราจร เพื่อให้สามารถนำไปกำหนดค่าปรับที่เหมาะสมของแต่ละโครงการได้สอดคล้องกับความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง Delays in construction of infrastructure projects not affect owners, but also cause inconvenient to road users. Generally in public projects, contractors would be penalized for delay at the fixed rate according to the regulation of the office of the Prime Minister which has been used since 1955. Therefore, this penalty rate may not reflect the real loss of project delay. This study demonstrates such loss including loss to owners and impact to road users due to construction delay of eight case studies from three organizations: Metropolitan Waterworks Authority (MWA), Metropolitan Electricity Authority (MEA), and Bangkok Metropolitan Authority (BMA). The result could could be used as a basis for determining appropriate penalty charges for construction delay. Evaluation of losses is different among each organization depending on the related parameters. This study uses a similar approach for MEA and MWA in determining the loss of net income from selling utilities due to the service disruption and the cost of interest. For BMA, which has no income in providing service, the loss due to construction delay is determined from the cost of interest and a loss in benefit for not having such service. Moreover, these kinds of infrastructure projects usually cause impact to road users. Therefore, this study also determines the increase of road user costs which are calculated based on vehicle operating costs and driver delay costs due to vehicle speed reduction during construction. Factors influencing change in speed are traffic volume, number of traffic lanes, lane width, median type, and lateral clearance. Losses calculated from the presented model ranges between 0.018% to 0.441% of project construction cost. The calculated losses from the model are higher and lower than the actual penalty rate in three and five projects respectively. Five projects caused low impact because the construction was only allowed at hight, and the calculation does not include all impacts. Most calculated losses are from the increase of road user costs and the loss in benefit of the public for not having the service. The result from this study can be used as a guideline for determining the real loss due to delay in construction. Consequently, it can be used to develop appropriate penalty charges for delay to reflect the actual losses. 2010-06-02T05:56:53Z 2010-06-02T05:56:53Z 2542 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12759 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 351895 bytes 338641 bytes 697622 bytes 597103 bytes 542880 bytes 725246 bytes 334863 bytes 1095649 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย