การศึกษาสมรรถนะของฝ้าเพดานทำความเย็น

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อายุส วัฒนวาณิชกร, 2521-
Other Authors: เชิดพันธ์ วิทูราภรณ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1288
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.1288
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ความร้อน -- การถ่ายเท
ฝ้าเพดาน
การปรับอากาศ
spellingShingle ความร้อน -- การถ่ายเท
ฝ้าเพดาน
การปรับอากาศ
อายุส วัฒนวาณิชกร, 2521-
การศึกษาสมรรถนะของฝ้าเพดานทำความเย็น
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
author2 เชิดพันธ์ วิทูราภรณ์
author_facet เชิดพันธ์ วิทูราภรณ์
อายุส วัฒนวาณิชกร, 2521-
format Theses and Dissertations
author อายุส วัฒนวาณิชกร, 2521-
author_sort อายุส วัฒนวาณิชกร, 2521-
title การศึกษาสมรรถนะของฝ้าเพดานทำความเย็น
title_short การศึกษาสมรรถนะของฝ้าเพดานทำความเย็น
title_full การศึกษาสมรรถนะของฝ้าเพดานทำความเย็น
title_fullStr การศึกษาสมรรถนะของฝ้าเพดานทำความเย็น
title_full_unstemmed การศึกษาสมรรถนะของฝ้าเพดานทำความเย็น
title_sort การศึกษาสมรรถนะของฝ้าเพดานทำความเย็น
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1288
_version_ 1681413688013094912
spelling th-cuir.12882008-02-02T07:13:43Z การศึกษาสมรรถนะของฝ้าเพดานทำความเย็น A study of the performance of cooling ceiling panel อายุส วัฒนวาณิชกร, 2521- เชิดพันธ์ วิทูราภรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ ความร้อน -- การถ่ายเท ฝ้าเพดาน การปรับอากาศ วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 ระบบปรับอากาศด้วยฝ้าเพดานทำความเย็นมีข้อดีหลายประการ เช่น เพิ่มระดับความสบายทางความร้อน ปราศจากเสียงรบกวน ลดภาระการทำความเย็นสูงสุด ให้ความสวยงามทางด้านสถาปัตยกรรม ลดปัญหาเชื้อโรคหรือสารปนเปื้อนในอากาศ และลดค่าก่อสร้างต่อชั้นของอาคาร ด้วยคุณสมบัติต่างๆ เหล่านี้ ระบบปรับอากาศด้วยฝ้าเพดานทำความเย็นจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาสมรรถนะในการถ่ายเทความร้อนของฝ้าเพดานทำความเย็น โดยในการทดลองจะมีตัวแปรที่พิจารณาคือ อุณหภูมิของน้ำเย็นที่จ่ายให้กับฝ้าเพดานทำความเย็น อัตราการไหลของน้ำเย็นที่จ่ายให้กับฝ้าเพดานทำความเย็น และภาระการทำความเย็นของฝ้าเพดานทำความเย็น จากการทดลองพบว่า อุณหภูมิของน้ำเย็นที่จ่ายให้กับฝ้าเพดานทำความเย็นจะมีผลต่อระดับอุณหภูมิพื้นผิวของฝ้าเพดานทำความเย็น อุณหภูมิห้อง และอัตราการถ่ายเทความร้อนของฝ้าเพดานทำความเย็นที่สภาวะคงตัว โดยการจ่ายน้ำเย็นที่อุณหภูมิต่ำจะส่งผลให้อัตราการถ่ายเทความร้อนของฝ้าเพดานทำความเย็นที่สภาวะคงตัวเพิ่มสูงขึ้น และยังส่งผลให้ระดับอุณหภูมิพื้นผิวของฝ้าเพดานทำความเย็น และอุณหภูมิห้องที่สภาวะคงตัวลดลงด้วย ในทางตรงกันข้ามจากผลการทดลองพบว่า อัตราการไหลของน้ำเย็นที่จ่ายให้กับฝ้าเพดานทำความเย็นไม่ส่งผลต่อระดับอุณหภูมิพื้นผิวของฝ้าเพดานทำความเย็น อุณหภูมิห้อง และอัตราการถ่ายเทความร้อนของฝ้าเพดานทำความเย็นที่สภาวะคงตัวอย่างมีนัยสำคัญ แต่อย่างไรก็ดีอัตราการไหลของน้ำเย็นจะมีผลต่อระยะเวลาในการเข้าสู่สภาวะคงตัวของอุณหภูมิพื้นผิวของฝ้าเพดานทำความเย็น อุณหภูมิห้อง และอัตราการถ่ายเทความร้อนของฝ้าเพดานทำความเย็น โดยที่การจ่ายน้ำเย็นให้กับฝ้าเพดานทำความเย็นที่อัตราการไหลสูง จะส่งผลให้อุณหภูมิพื้นผิวของฝ้าเพดานทำความเย็น อุณหภูมิห้อง และการถ่ายเทความร้อนของฝ้าเพดานทำความเย็นเข้าสู่สภาวะคงตัวได้เร็วขึ้น นอกจากนี้ภาระความร้อนยังมีผลต่อระดับอุณหภูมิพื้นผิวของฝ้าเพดานทำความเย็น และอุณหภูมิห้องที่สภาวะคงตัวด้วย โดยในกรณีทดลองที่มีภาระความร้อนสูง ระดับอุณหภูมิพื้นผิวของฝ้าเพดานทำความเย็น และอุณหภูมิห้องจะสมดุลที่อุณหภูมิสูงขึ้น จากผลการทดลองที่ได้ สามารถนำมาสร้างสมการเพื่อแสดงสมรรถนะในการถ่ายเทความร้อนของฝ้าเพดานทำความเย็น ที่สภาวะคงตัวได้ The air conditioning system using cooling ceiling panel provides many advantages such as increase thermal comfort level without producing noises, lower peak cooling load, maintain architectural beauty, lessen germ or contaminant in the air, and reduce construction cost per floor of a building. With the above properties, the cooling ceiling system is, therefore, another interesting alternative for air conditioning system. In this research, the performance of cooling ceiling panel in transferring heat is studied. The variables being considered in the experiment are temperature of chilled water that is fed to the cooling ceiling panel, flow rate of the chilled water and cooling load of the cooling ceiling panel. From the experiment, it is found that the temperature of chilled water provides an effect on surface temperature of the cooling ceiling panel, the room temperature and the rate of heat transfer of the cooling ceiling panel at the steady state condition. Chilled water at low temperature increases the rate of heat transfer of the cooling ceiling panel, and, at the same time, reduces surface temperature of the cooling ceiling panel as well as the room temperature. On the contrary, the flow rate of the chilled water does not significantly affect surface temperature of the cooling ceiling panel, the room temperature and the rate of heat transfer of the cooling ceiling panel at the steady state condition. However, the flow rate of chilled water has an effect on the time gradient required for surface temperature of the cooling ceiling panel, the room temperature and the rate of heat transfer in the steady state condition. The surface temperature of the cooling ceiling panel, the room temperature and the heat transfer of cooling ceiling panel approach more rapidly to the steady state condition as the chilled water flow rate fed to the cooling panel get higher. Furthermore, the heat load also plays an important effect on the surface temperature of the cooling ceiling panel and room temperature at the steady statecondition. Higher heat load results in higher temperature of the surface temperature of the cooling ceiling panel and the room temperature at the equilibrium condition. The results from the experiment are then used to derive the equations that represent the performance of the cooling ceiling panel at the steady state condition. 2006-07-31T10:22:35Z 2006-07-31T10:22:35Z 2545 Thesis 9741724136 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1288 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2768915 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย