แรงบิดย้อนกลับของสกรูหลักยึดรากเทียมภายหลังการทดสอบความล้า

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: จุฑามาศ จริยวิทยากุล
Other Authors: อรพินท์ แก้วปลั่ง
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12997
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.12997
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ทันตกรรมรากเทียม
spellingShingle ทันตกรรมรากเทียม
จุฑามาศ จริยวิทยากุล
แรงบิดย้อนกลับของสกรูหลักยึดรากเทียมภายหลังการทดสอบความล้า
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
author2 อรพินท์ แก้วปลั่ง
author_facet อรพินท์ แก้วปลั่ง
จุฑามาศ จริยวิทยากุล
format Theses and Dissertations
author จุฑามาศ จริยวิทยากุล
author_sort จุฑามาศ จริยวิทยากุล
title แรงบิดย้อนกลับของสกรูหลักยึดรากเทียมภายหลังการทดสอบความล้า
title_short แรงบิดย้อนกลับของสกรูหลักยึดรากเทียมภายหลังการทดสอบความล้า
title_full แรงบิดย้อนกลับของสกรูหลักยึดรากเทียมภายหลังการทดสอบความล้า
title_fullStr แรงบิดย้อนกลับของสกรูหลักยึดรากเทียมภายหลังการทดสอบความล้า
title_full_unstemmed แรงบิดย้อนกลับของสกรูหลักยึดรากเทียมภายหลังการทดสอบความล้า
title_sort แรงบิดย้อนกลับของสกรูหลักยึดรากเทียมภายหลังการทดสอบความล้า
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12997
_version_ 1681410197972582400
spelling th-cuir.129972010-06-25T08:28:30Z แรงบิดย้อนกลับของสกรูหลักยึดรากเทียมภายหลังการทดสอบความล้า Reverse torques of abutment screws after fatigue test จุฑามาศ จริยวิทยากุล อรพินท์ แก้วปลั่ง สรรพัชญ์ นามะโน สถาพร สุปรีชากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ ทันตกรรมรากเทียม วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 การคลายเกลียวของสกรูหลักยึดนั้นถือเป็นปัญหาหนึ่งของการบูรณะด้วยรากเทียม และจากการหลายการศึกษาที่ชี้ให้เห็นถึงผลของแรงบิดขันต่อแรงเริ่มต้นของข้อสกรู การวัดแรงเริ่มต้นนั้นสามารถทำได้หลายวิธีและวิธีหนึ่งคือการวัดค่าแรงบิดย้อนกลับ ถึงแม้ว่าปัจจุบันมีรากเทียมหลายระบบขายอยู่ในท้องตลาด แต่ราคาการบูรณะด้วยรากเทียมนั้นยังค่อนข้างสูง การผลิตรากเทียมใช้ในประเทศเป็นวิธีหนึ่งที่จะสามารถลดปัญหานี้ได้ ซึ่งการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาผลของแรงบิดขันและการทดสอบความล้าต่อค่าแรงบิดย้อนกลับของสกรูหลักยึดรากเทียมที่ผลิตขึ้นในโครงการวิจัยพัฒนาผลิตรากเทียมและอุปกรณ์ โดยใช้กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 6 กลุ่ม คือกลุ่มที่ 1,2 และ 3 ใช้แรงบิดขัน20,30 และ35 นิวตัน.ซม. ตามลำดับและไม่ผ่านการทดสอบความล้า กลุ่มที่ 4,5 และ6 ใช้แรงบิดขัน 20,30 และ 35 นิวตัน.ซม. ตามลำดับและผ่านการทดสอบความล้า การทดสอบความล้าทำตามข้อกำหนดของสถาบันรองมาตรฐานไอเอสโอ โดยให้แรงทำมุม 30 องศากับแกนตามยาวส่วนยึดตรึง ขนาดแรงที่ใช้ 60 นิวตัน ความถี่ 80 ครั้งต่อนาที จำนวน 1,000,000 รอบ เทียบเท่าการใช้งานในช่องปากนานประมาร 5 ปี ในการวิจัยนี้ใช้ไขควงที่ด้ามจับต่อเข้ากับเครื่องวัดแรงบิดโทนิชิเพื่อควบคุมให้ได้แรงบิดขันตามที่กำหนด และทำการคลายเกลียวสกรูเพื่อวัดแรงบิดย้อนกลับด้วยไขควงที่ด้ามจับต่อเข้ากับเครื่องวัดแรงบิดแล้วทำการอ่านค่า ทำการวัดค่าของกลุ่มที่ 1 -3 หลังจากขันสกรูผ่านไปเป็นเวลา 24 ชม.และทำการวัดค่าของกลุ่มที่ 4-6 หลังจากการทดสอบความล้าเสร็จสิ้น นำผลที่ได้มาคำนวณทางสถิติพบว่าค่าเฉลี่ยแรงบิดย้อนกลับเรียงลำดับจากน้อยไปมากได้ดังนี้ กลุ่มที่ 4(7.250+-0.957 นิวตัน.ซม.) กลุ่มที่ 5(11.000+-0.816 นิวตัน.ซม.) กลุ่มที่ 6(13.000+-0.816 นิวตัน.ซม.)กลุ่มที่ 1(15.750+-1.500 นิวตัน.ซม.) กลุ่มที่ 2(21.500+-1.291 นิวตัน.ซม.) และกลุ่มที่ 3(25.750+- 0.957 นิวตัน.ซม.)จากนั้นนำข้อมูลมาวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ 2 ทาง พบว่าแรงบิดขัน การทดสอบความล้า และอิทธิพลร่วมจาก 2 ปัจจัยดังกล่าวมีผลตอแรงบิดย้อนกลับอย่างมีนัยสำคัญ(p น้อยกว่า.05) และจากการเปรียบเทียบเชิงซ้อนพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญระหว่างค่าเฉลี่ยแรงบิดย้อนกลับของแต่ละกลุ่ม ยกเว้นการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ 5 และ 6 จากผลการวิจัยครั้งนี้จึงแนะนำว่าหากมีการนำรากเทียมระบบที่ผลิตขึ้นนี้ไปใช้ในทางคลินิกควรเลือกใช้แรงบิดขนาด 35 นิวตัน.ซม.ในการขันสกรูหลักยึดรากเทียมเพื่อให้เกิดเสถียรภาพของข้อต่อสกรู One of the problems of dental implant restorations is abutment screw loosening. Many studies indicate that tightening torque can affect preload of the screw joint. The preload can be measured by many methods, one which is measurement of reverse torque value. Although, there are many dental implant systems on the market, the prices of dental implant restorations are still rather expensive. The solution of this situation is production and utilizing implants locally. The purpose of this study was to evaluate the effect of tightening torque and fatigue test on reverse torque of abutment screws of new implant system. There were 6 groups in this study, groups 1-3 were tightened to 20,30 and 35 N.cm, respectively and not fatigue tested, and groups 4-6 were tightened to 20,30 and 35 N.cm, respectively and were subjected to fatigue test. The conditions of this fatigue test followed an ISO method. A fatigue testing machine delivered a force of 60N, 80 cycles/minute for 1,000,000 cycles or the approximate equivalent of 5 years in vivo mastication. Force was applied at an angulation 30 degrees to long axis of the implant. In this study, abutment screw tightening was done by using a handheld screw driver attached to a Tohnichi torque gauge to control tightening torque, and a measurement of reverse torque value was done by the same device. The measurement was done after tightening 24 hours foe group 1-3 and after fatigue test for group 4-6. The mean of reverse torque values of each group were calculated. The results from lowest value to highest are as follow, group 4(7.250+-0.957 N.cm), group 5(11.000+-0.816 N.cm) ,group 6(13.000+-0.816 N.cm), group 1(15.750+-1.500 N.cm),group 2(21.500+-1.291 N.cm) and group 3(25.750+-0.957 N.cm).Analysis by 2-way ANOVA demonstrated that there was the significant effect of tightening torque, fatigue test and interaction of these 2 factors on reverse torque(p is less than .05). Analysis by multiple comparison further showed that there were significant differences between all groups except between groups 5 and 6. The result obtained from this study suggestes that the clinician should tight abutment screw of new implant system with torque value 35 N.cm for abutment-implant stability. 2010-06-25T08:28:30Z 2010-06-25T08:28:30Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12997 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1370658 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย