ปรสิตที่พบในกบนา ในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
จากการศึกษาปรสิตในกบนา Hoplobatrachus rugulosus ตัวเต็มวัย จำนวน 74 ตัว ระหว่างเดือนตุลาคม 2549 ถึงกันยายน 2550 จากพื้นที่ 2 แห่ง ได้แก่ สวนสัตว์เปิดเขาเขียว จังหวัดชลบุรี และอำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย ได้นำมาศึกษาหาหนอนพยาธิโพรโทซัว และ ปรสิตในเลือด ผลการศึกษาพบว่า ในอวัยวะของกบนามีกา...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13024 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
Summary: | จากการศึกษาปรสิตในกบนา Hoplobatrachus rugulosus ตัวเต็มวัย จำนวน 74 ตัว ระหว่างเดือนตุลาคม 2549 ถึงกันยายน 2550 จากพื้นที่ 2 แห่ง ได้แก่ สวนสัตว์เปิดเขาเขียว จังหวัดชลบุรี และอำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย ได้นำมาศึกษาหาหนอนพยาธิโพรโทซัว และ ปรสิตในเลือด ผลการศึกษาพบว่า ในอวัยวะของกบนามีการติดปรสิต ได้แก่ หนอนตัวกลม 3 กลุ่ม (วงศ์ Cosmocercidae สกุล Oswaldocruzia และสกุล Rhabdias) หนอนหัวหนาม 2 กลุ่ม พยาธิใบไม้ 3 สกุล (Haplometra, Glypthelmins และ Diplodiscus) พยาธิตัวตืดในกลุ่ม sparganum และโพรโทซัวในลำไส้ 2 สกุล (Opalina และ Balantidium) สำหรับปรสิตในเลือดพบ 3 สกุล ได้แก่ Trypanosoma, Hepatozoon และ Lankesterella |
---|