ความหลากหลายของปูบริเวณอ่าวสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
ชนิดปูที่พบบริเวณชายฝั่งเกาะแสมสารจังหวัดชลบุรี ทำการเก็บตัวอย่างระหว่างเดือนกันยายน 2548 ถึงเดือนกรกฎาคม 2549 พบปูทั้งหมด 8 ครอบครัว 21 ชนิด โดยปูม้า (Portunus pelagicus) เป็นปูที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจและมีการกระจายทั่วไปในบริเวณนี้ การศึกษาชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปูม้า (Portunus pelagicus) บริเวณช...
Saved in:
Main Authors: | , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13026 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
Summary: | ชนิดปูที่พบบริเวณชายฝั่งเกาะแสมสารจังหวัดชลบุรี ทำการเก็บตัวอย่างระหว่างเดือนกันยายน 2548 ถึงเดือนกรกฎาคม 2549 พบปูทั้งหมด 8 ครอบครัว 21 ชนิด โดยปูม้า (Portunus pelagicus) เป็นปูที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจและมีการกระจายทั่วไปในบริเวณนี้ การศึกษาชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปูม้า (Portunus pelagicus) บริเวณชายฝั่งอ่าวสัตหีบจังหวัดชลบุรี โดยเก็บตัวอย่างทุกเดือนด้วยเครื่องมือประมงอวนจมปู ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม 2549 พบว่าปูม้ามีค่าอัตราส่วนเพศผู้ต่อเพศเมียเท่ากับ 1:1.25 ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวกระดอง (เซนติเมตร) และน้ำหนัก (กรัม) ในปูม้าเพศผู้และเพศเมียดังสมการ Wmale = 0.061CW0.38 [superscript 0.38] และ Wfemale = 0.092CW2.89 [superscript 2.89] ตามลำดับ ขนาดของปูม้าส่วนใหญ่มีความกว้างกระดองระหว่าง 11.0-11.5 เซนติเมตร ความดกไข่สูงสุด 1.6x106 [superscript 6] ฟอง และความดกไข่เฉลี่ย 0.72x106 [superscript 6] ฟอง พบปูม้ามีไข่นอกกระดองตลอดเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม โดยพบปูมีไข่นอกกระดองสูงสุดในเดือนธันวาคมเช่นเดียวกับเปอร์เซ็นต์ความสมบูรณ์เพศของปูม้าเพศเมียในเดือนธันวาคมมีค่าสูงสุดคือ 56% ซึ่งน่าจะเป็นช่วงที่ปูเพศเมียเข้าสู่ฤดูวางไข่ |
---|