การวิเคราะห์สมรรถนะและการออกแบบตัวควบคุมสำหรับหอกลั่นแยกสารสองชนิดภายใต้การรบกวนที่มีขนาดมีขอบเขตและอนุพันธ์มีของเขต

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วทัญญู คล้ายสงคราม, 2523-
Other Authors: เดวิด บรรเจิดพงศ์ชัย
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1305
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.1305
record_format dspace
spelling th-cuir.13052008-02-08T02:07:15Z การวิเคราะห์สมรรถนะและการออกแบบตัวควบคุมสำหรับหอกลั่นแยกสารสองชนิดภายใต้การรบกวนที่มีขนาดมีขอบเขตและอนุพันธ์มีของเขต Performance analysis and controller design for a binary distillation column under disturbances with bounded magnitudes and bounded derivatives วทัญญู คล้ายสงคราม, 2523- เดวิด บรรเจิดพงศ์ชัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ การควบคุมอัตโนมัติ หอกลั่น วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 แนวทางในการจำลองการรบกวนที่เข้าสู่ระบบมีอยู่หลายลักษณะ ขึ้นอยู่กับสมบัติทางกายภาพของการรบกวนภายในระบบแต่ละระบบ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอแนวทางการจำลองการรบกวนในลักษณะของสัญญาณเข้าที่มีขอบเขตของขนาด และขอบเขตของอัตราการเปลี่ยนแปลง ดรรชนีสมรรถนะที่พิจารณา ในที่นี้คือขนาดสูงสุดของสัญญาณออกเมื่อระบบอยู่ภายใต้การรบกวนดังกล่าว เราได้วิเคราะห์ลักษณะและสมบัติพื้นฐานของดรรชนีสมรรถนะนี้ แล้วแสดงให้เห็นว่าปัญหาการคำนวณค่าดรรชนีสมรรถนะอาจจัดให้อยู่ในรูปของปัญหาการควบคุมแบบเหมาะที่สุดได้ ซึ่งสามารถวิเคราะห์หาเงื่อนไขจำเป็นของปัญหาได้ทันที นอกจากนั้นยังได้พัฒนาโปรแกรมสำหรับคำนวณค่าดรรชนีสมรรถนะดังกล่าวอีกด้วย จากการสังเกตเราพบว่าดรรชนีสมรรถนะนี้เป็นฟังก์ชันคอนเวกซ์ของระบบควบคุมวงปิด ดังนั้นจึงสามารถผนวกค่าดรรชนีสมรรถนะเข้ากับวิธีการสังเคราะห์ตัวควบคุมโดยใช้การหาค่าเหมาะที่สุดเชิงคอนเวกซ์ได้ เพื่อแสดงให้เห็นถึงประสิทธิผลในการจำลองการรบกวนแนวใหม่นี้ เราได้ประยุกต์ใช้เทคนิคการออกแบบดังกล่าวกับระบบหอกลั่นแยกสารสองชนิด จุดประสงค์สมรรถนะคือขนาดสูงสุดของความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ที่เบี่ยงเบนไปจากค่าที่จุดทำงาน ส่วนเงื่อนไขสมรรถนะคือขนาดสูงสุดของสัญญาณควบคุม เราสมมติให้ขนาดของการรบกวนที่เข้าสู่ระบบเปลี่ยนแปลงจากค่าที่จุดทำงานภายในขอบเขตจำกัด และอัตราการเปลี่ยนแปลงของการรบกวนดังกล่าวก็มีขอบเขตจำกัดด้วย ผลการจำลองระบบแสดงให้เห็นว่าสัญญาณควบคุมวางตัวอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ในขณะที่ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์เปลี่ยนแปลงไปจากจุดทำงานไม่เกินค่าจุดประสงค์ที่ลดได้ นอกจากนี้เราได้แสดงเส้นโค้งแลกเปลี่ยนระหว่างการเบี่ยงเบนของความเข้มข้นแต่ละตัวไว้ด้วย ผลลัพธ์ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เผยให้เห็นถึงศักยภาพของการประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ดรรชนีสมรรถนะและการสังเคราะห์ตัวควบคุมกับกระบวนการอุตสาหกรรมจริง There are several ways to model system disturbances, depending on their physical characteristics. This thesis presents an approach to model disturbances as signals with bounds on their magnitudes and bounds on their rates of change. The performance index considered in this work is the maximum magnitude of the system output under the aforementioned disturbances. The analysis of the basic features and properties of the performance index is given. Then, we show that the performance analysis can be reformulated as an optimal control problem, whose necessary conditions can be readily determined. In addition, the computer program for calculating this performance index is also developed. We observe that this performance index is a convex function with respect to the closed-loop control system. Therefore, we can integrate the performance index in the framework of the controller synthesis via convex optimization. To demonstrate the effectiveness of the novel approach, we apply the design technique to a binary distillation column. The performance objectives are the maximum deviations of the product compositions, and the performance constraints are the maximum peaks of the control signals. The magnitudes of disturbance vary within the specified bound and their rates of change are also bounded. The simulation results show that the control signals are maintained in the acceptable levels, and the deviations of the product compositions do not exceed their minimized objectives. A tradeoff curve between composition deviations is also illustrated. The results of this thesis reveal the potential to employ the performance analysis and controller synthesis to real industrial processes. 2006-08-01T07:43:56Z 2006-08-01T07:43:56Z 2545 Thesis 9741729391 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1305 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 79672840 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การควบคุมอัตโนมัติ
หอกลั่น
spellingShingle การควบคุมอัตโนมัติ
หอกลั่น
วทัญญู คล้ายสงคราม, 2523-
การวิเคราะห์สมรรถนะและการออกแบบตัวควบคุมสำหรับหอกลั่นแยกสารสองชนิดภายใต้การรบกวนที่มีขนาดมีขอบเขตและอนุพันธ์มีของเขต
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
author2 เดวิด บรรเจิดพงศ์ชัย
author_facet เดวิด บรรเจิดพงศ์ชัย
วทัญญู คล้ายสงคราม, 2523-
format Theses and Dissertations
author วทัญญู คล้ายสงคราม, 2523-
author_sort วทัญญู คล้ายสงคราม, 2523-
title การวิเคราะห์สมรรถนะและการออกแบบตัวควบคุมสำหรับหอกลั่นแยกสารสองชนิดภายใต้การรบกวนที่มีขนาดมีขอบเขตและอนุพันธ์มีของเขต
title_short การวิเคราะห์สมรรถนะและการออกแบบตัวควบคุมสำหรับหอกลั่นแยกสารสองชนิดภายใต้การรบกวนที่มีขนาดมีขอบเขตและอนุพันธ์มีของเขต
title_full การวิเคราะห์สมรรถนะและการออกแบบตัวควบคุมสำหรับหอกลั่นแยกสารสองชนิดภายใต้การรบกวนที่มีขนาดมีขอบเขตและอนุพันธ์มีของเขต
title_fullStr การวิเคราะห์สมรรถนะและการออกแบบตัวควบคุมสำหรับหอกลั่นแยกสารสองชนิดภายใต้การรบกวนที่มีขนาดมีขอบเขตและอนุพันธ์มีของเขต
title_full_unstemmed การวิเคราะห์สมรรถนะและการออกแบบตัวควบคุมสำหรับหอกลั่นแยกสารสองชนิดภายใต้การรบกวนที่มีขนาดมีขอบเขตและอนุพันธ์มีของเขต
title_sort การวิเคราะห์สมรรถนะและการออกแบบตัวควบคุมสำหรับหอกลั่นแยกสารสองชนิดภายใต้การรบกวนที่มีขนาดมีขอบเขตและอนุพันธ์มีของเขต
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1305
_version_ 1681408744400879616