การใช้ทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่อยู่ในความครอบครองของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย

วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เอกลักษณ์ เหลืองอำพล
Other Authors: สำเรียง เมฆเกรียงไกร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13125
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.13125
record_format dspace
spelling th-cuir.131252010-07-28T06:10:14Z การใช้ทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่อยู่ในความครอบครองของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย Using third party assets in possesion of debtor in insolvency law เอกลักษณ์ เหลืองอำพล สำเรียง เมฆเกรียงไกร วิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ การฟื้นฟูบริษัท -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย ล้มละลาย -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย บุคคลที่สาม (กฎหมาย) วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 มาตรการทางกฎหมายฟื้นฟูกิจการที่สำคัญคือ การพักบังคับชำระหนี้เพื่อให้เวลาแก่ลูกหนี้ดำเนินกิจการต่อไปได้โดยปราศจากความกดดันจากเจ้าหนี้ ซึ่งการฟื้นฟูกิจการจำเป็นจะต้องใช้ทรัพย์สินต่างๆ ของลูกหนี้ รวมถึงทรัพย์ของบุคคลภายนอกที่อยู่ในความครอบครองของลูกหนี้ด้วย เช่นเดียวกันกฎหมายล้มละลายมีมาตรการรักษามูลค่ากองทรัพย์สินของลูกหนี้ โดยการขายธุรกิจของลูกหนี้ออกไปโดยที่ธุรกิจนั้นยังดำเนินอยู่ หรือจำเป็นต้องให้ธุรกิจของลูกหนี้ดำเนินต่อไปในระยะเวลาหนึ่ง เพื่อรักษามูลค่ากองทรัพย์สินไว้ อันมีความจำเป็นจะต้องใช้ทรัพย์สินต่างๆ ในลักษณะเดียวกันกับการฟื้นฟูกิจการ จากการศึกษาพบว่า พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 ในกระบวนการล้มละลาย ตามมาตรา 109 (3) กำหนดให้สิ่งของซึ่งอยู่ในความครอบครองของลูกหนี้ โดยพฤติการณ์ที่เห็นว่าลูกหนี้เป็นเจ้าของนั้น อาจนำมาชำระหนี้ได้ แต่หลักดังกล่าวมิได้ให้อำนาจเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ใช้ทรัพย์สินของบุคคลภายนอก ในกระบวนการล้มละลายได้แต่อย่างใด ส่วนกระบวนการฟื้นฟูกิจการนั้น ตามหลักเรื่องการพักบังคับชำระหนี้ทำให้ลูกหนี้ สามารถใช้ทรัพย์สินของบุคคลภายนอกที่เป็นสาระสำคัญต่อการดำเนินกิจการได้ แต่ไม่มีบทบัญญัติให้ความคุ้มครองแก่ส่วนได้เสียในทรัพย์สินของบุคคลภายนอกอย่างเพียงพอ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงได้เสนอแนะ ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 ดังนี้ 1. กำหนดให้กองทรัพย์สินของลูกหนี้นั้น รวมถึงผลประโยชน์ของลูกหนี้ในทรัพย์สินที่บุคคลภายนอกเป็นเจ้าของด้วย 2. กำหนดให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจจัดการทรัพย์สินหรือกิจการของลูกหนี้ต่อไป รวมถึงอนุญาตให้ใช้ทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่อยู่ในความครอบครองของลูกหนี้ได้ ตราบเท่าที่จำเป็นเพื่อให้กองทรัพย์สินของลูกหนี้มีมูลค่าสูงสุด 3. กำหนดมาตรการคุ้มครองส่วนได้เสียอย่างเพียงพอในทรัพย์สินของบุคคลภายนอก The important legal measure of reorganization law is the automatic stay that allows a debtor to organize its affairs without pressure from creditors. The reorganization proceeding often requires debtor’s assets and third party’s assets in the possession of debtor. In the same manner, bankruptcy law provides the measures that retain the value of the debtor’s asset; namely, either sale the debtor’s business as an operating business or continuity of business for a period to maintain the value of asset. Thus, it is essential to use all assets as same as the reorganization proceeding. From the study, Section 109 (3) of the Bankruptcy Act B.E. 2483, in the bankruptcy proceeding requires that all goods in possession of the debtor, in a circumstance shown it belongs to the debtor, may be satisfied the obligation. However, such rule does not authorize the official receiver to use third party’s assets in the bankruptcy proceeding. For the reorganization proceeding, the automatic stay principle enables the debtor to use the third party’s assets that are essential for the continuity of debtor’s business. Nevertheless, it insufficiently provides protection for the interest of third party’s assets. The thesis, hence, proposes to amend the Bankruptcy Act B.E. 2483 as follows; 1. Prescribe debtor’s assets to include debtor’s interest in assets owned by third party. 2. Authorize the official receiver to manage the debtor’s assets or business, including the authority to allow the utilization of third party’s assets that in the possession of the debtor as necessary to maximize the value of the debtor’s assets. 3. Prescribe any measure on protection of the interest of third party’s assets sufficiently. 2010-07-28T06:10:13Z 2010-07-28T06:10:13Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13125 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1499703 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การฟื้นฟูบริษัท -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย
ล้มละลาย -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย
บุคคลที่สาม (กฎหมาย)
spellingShingle การฟื้นฟูบริษัท -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย
ล้มละลาย -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย
บุคคลที่สาม (กฎหมาย)
เอกลักษณ์ เหลืองอำพล
การใช้ทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่อยู่ในความครอบครองของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย
description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
author2 สำเรียง เมฆเกรียงไกร
author_facet สำเรียง เมฆเกรียงไกร
เอกลักษณ์ เหลืองอำพล
format Theses and Dissertations
author เอกลักษณ์ เหลืองอำพล
author_sort เอกลักษณ์ เหลืองอำพล
title การใช้ทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่อยู่ในความครอบครองของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย
title_short การใช้ทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่อยู่ในความครอบครองของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย
title_full การใช้ทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่อยู่ในความครอบครองของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย
title_fullStr การใช้ทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่อยู่ในความครอบครองของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย
title_full_unstemmed การใช้ทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่อยู่ในความครอบครองของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย
title_sort การใช้ทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่อยู่ในความครอบครองของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13125
_version_ 1681409185084866560