การใช้เทศกาลดนตรีพัทยาในฐานะกิจกรรมเชิงกลยุทธ์ เพื่อการสร้างภาพลักษณ์เมืองพัทยา ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ดารามาส มณฑลวิทย์
Other Authors: ธนวดี บุญลือ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13206
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.13206
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การท่องเที่ยว -- นโยบายของรัฐ
พัทยา
การแสดงดนตรี -- ไทย -- พัทยา (ชลบุรี)
spellingShingle การท่องเที่ยว -- นโยบายของรัฐ
พัทยา
การแสดงดนตรี -- ไทย -- พัทยา (ชลบุรี)
ดารามาส มณฑลวิทย์
การใช้เทศกาลดนตรีพัทยาในฐานะกิจกรรมเชิงกลยุทธ์ เพื่อการสร้างภาพลักษณ์เมืองพัทยา ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
author2 ธนวดี บุญลือ
author_facet ธนวดี บุญลือ
ดารามาส มณฑลวิทย์
format Theses and Dissertations
author ดารามาส มณฑลวิทย์
author_sort ดารามาส มณฑลวิทย์
title การใช้เทศกาลดนตรีพัทยาในฐานะกิจกรรมเชิงกลยุทธ์ เพื่อการสร้างภาพลักษณ์เมืองพัทยา ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
title_short การใช้เทศกาลดนตรีพัทยาในฐานะกิจกรรมเชิงกลยุทธ์ เพื่อการสร้างภาพลักษณ์เมืองพัทยา ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
title_full การใช้เทศกาลดนตรีพัทยาในฐานะกิจกรรมเชิงกลยุทธ์ เพื่อการสร้างภาพลักษณ์เมืองพัทยา ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
title_fullStr การใช้เทศกาลดนตรีพัทยาในฐานะกิจกรรมเชิงกลยุทธ์ เพื่อการสร้างภาพลักษณ์เมืองพัทยา ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
title_full_unstemmed การใช้เทศกาลดนตรีพัทยาในฐานะกิจกรรมเชิงกลยุทธ์ เพื่อการสร้างภาพลักษณ์เมืองพัทยา ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
title_sort การใช้เทศกาลดนตรีพัทยาในฐานะกิจกรรมเชิงกลยุทธ์ เพื่อการสร้างภาพลักษณ์เมืองพัทยา ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13206
_version_ 1681413085299998720
spelling th-cuir.132062010-08-03T06:29:11Z การใช้เทศกาลดนตรีพัทยาในฐานะกิจกรรมเชิงกลยุทธ์ เพื่อการสร้างภาพลักษณ์เมืองพัทยา ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย The use of Pattaya music festival by the Tourism Authority of Thailand as strategic activity for the promotion of Pattaya city's image ดารามาส มณฑลวิทย์ ธนวดี บุญลือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ การท่องเที่ยว -- นโยบายของรัฐ พัทยา การแสดงดนตรี -- ไทย -- พัทยา (ชลบุรี) วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสร้างภาพลักษณ์เมืองพัทยาโดยการใช้เทศกาลดนตรีพัทยาเป็นกิจกรรมเชิงกลยุทธ์ การดำเนินงานประชาสัมพันธ์ และกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์โครงการเทศกาลดนตรีพัทยาการเปิดรับข่าวสารจากสื่อประชาสัมพันธ์ การรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับโครงการฯ ทัศนคติที่มีต่อโครงการฯ และภาพลักษณ์ของพัทยาในสายตาของประชาชน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยที่แบ่งออกเป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ ส่วนที่เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการศึกษาจากแผนงาน เอกสาร และสื่อต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ การประชาสัมพันธ์โครงการเทศกาลดนตรีพัทยาประกอบกับการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนและการดำเนินงานประชาสัมพันธ์โครงการเทศกาลดนตรีพัทยา จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และส่วนที่เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยผู้วิจัยได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 18-50 ปี และมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 400 คน ผลการวิจัยพบว่า การสร้างภาพลักษณ์เมืองพัทยา โดยการใช้เทศกาลดนตรีพัทยาเป็นกิจกรรมเชิงกลยุทธ์ แบ่งออกเป็นภาพลักษณ์ด้านต่างๆ คือ ภาพลักษณ์เมืองแห่งเสียงเพลงไร้พรมแดน ภาพลักษณ์เมืองท่องเที่ยวแบบครอบครัว เหมาะกับคนทุกเพศ ทุวัย และทุกอาชีพ ภาพลักษณ์เมืองที่มีศักยภาพทางด้านการท่องเที่ยวในทุกๆด้าน และภาพลักษณ์เมืองท่องเที่ยวที่ปลอดภัย ในส่วนของกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์นั้น พบว่า มีการใช้กลยุทธ์ดังนี้ คือ กลยุทธ์การใช้สื่อแบบผสมผสาน กลยุทธ์การกำหนดสื่อหลักละสื่อรอง กลยุทธ์การใช้บุคคลที่มีชื่อเสียง กลยุทธ์การใช้สื่อสร้างกระแส กลยุทธ์ใช้สื่อของหน่วยงานพันธมิตร กลยุทธ์การนำสื่อสมัยใหม่เข้ามาใช้ และกลยุทธ์การสร้างการจดจำโครงการเทศกาลดนตรีพัทยา สำหรับผลการวิจัยในส่วนของการวิจัยเชิงสำรวจ พบว่า ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครมีการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับโครงการเทศกาลดนตรีพัทยาจากสื่อประชาสัมพันธ์ในระดับต่ำ โดยมีการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับโครงการฯ จากสื่อมวลชนในระดับปานกลาง จากสื่อบุคคลและสื่อเฉพาะกิจในระดับต่ำ มีการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับโครงการฯ ในระดับสูง มีทัศนคติต่อโครงการฯ ในระดับปานกลางหรือทัศนคติที่เป็นกลางและภาพลักษณ์ของเมืองพัทยาในสายตาของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร คือภาพลักษณ์ในระดับปานกลางหรือภาพลักษณ์ที่เป็นกลาง The purpose of this research is to study the promotion of Pattaya city's image by using Pattaya Music Festival as strategic activity, public relations process, public relations strategies, media exposure, perception, attitude toward the Pattaya Music Festival project and Pattaya city's image. The study used two research methods : the qualitative and quantitative. Research tools were documentaries, indepth interview and survey of 400 people who live in Bangkok Metropolitans. Findings: 1. It was found that Pattaya city used Pattaya Music Festival as strategic activity to promote 4 images ; the city of no boundary music exchange, the city of family tourism and tours for everyone, the city of tourism in all kind and the city of safe tourism. Public relations strategy is media strategy such as using mix media, defining the major and the minor media and using celebrities as medium of attraction. Apart from media strategy, Pattaya city also coordinated with partner organizations to use "hi-tech" and modern media to attract people attention and retention of the event. Except youngsters, most people in all ages in Bangkok metropolis attended to event information in general at low level. However, most of them reached mass media at medium level, human and specialized media at low level. Most people became highly aware of the Pattaya Music Festival project and had moderate level of positive attitude toward the Pattaya Music Festival project. People in Bangkok had moderate positive image for the city of Pattaya as a result of organizing Pattaya Music Festival event. 2010-08-03T06:29:10Z 2010-08-03T06:29:10Z 2549 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13206 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 23979535 bytes application/pdf application/pdf ชลบุรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย