การแยกปรอทและสารหนูโดยใช้เยื่อแผ่นเหลวที่พยุงด้วยเส้นใยกลวง

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สีวลี แสงธำรง
Other Authors: อุรา ปานเจริญ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13353
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.13353
record_format dspace
spelling th-cuir.133532010-08-31T07:36:32Z การแยกปรอทและสารหนูโดยใช้เยื่อแผ่นเหลวที่พยุงด้วยเส้นใยกลวง Separation of mercury and arsenic by hollow-fiber-supported liquid membrane สีวลี แสงธำรง อุรา ปานเจริญ อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ ไอออน สารหนู ปรอท คลอไรต์ วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 งานวิจัยนี้ศึกษาการแยกไอออนปรอทและสารหนูจากสารละลายคลอไรด์ โดยใช้เยื่อแผ่นเหลวที่พยุงด้วย เส้นใยกลวง และใช้สารสกัด tri-n-octylamine (TOA) ละลายในตัวทำละลายโทลูอีน ปัจจัยที่ทำการศึกษา ได้แก่ ความเข้มข้นกรดไฮโดรคลอริกในสารละลายป้อน ความเข้มข้นของสารสกัด TOA ในเยื่อแผ่นเหลว ความเข้มข้นของสรละลายนำกลับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ความเข้มข้นของไอออนปรอทและสารหนู และ อายุการใช้งานของเยื่อแผ่นเหลว ผลการทดลอง พบว่าไอออนปรอทเท่านั้นที่สามารถถูกสกัดและนำกลับ เนื่องจากปรอทจะแตกตัวให้ไอออนประจุลบ (HgC1[4subscript] [superscript2])และสารสกัด TOA ซึ่งเป็น สารสกัดชนิดเบสจะเกิดปฏิกิริยากับไอออน โลหะที่มีประจุลบเท่านั้น สำหรับไอออนของสารหนู (H[subscript 3]AsO[subscript 3]) มีประจุเป็นกลางจึงไม่เกิดการสกัดและนำกลับ จากการทดลองได้ค่า ร้อยละการนำกลับของไอออนปรอทเท่ากับ 95 และมีความสามารถในการเลือกเป็นร้อยละ 100 The separation of mercury (II) and arsenic (III) ions from the chloride media has been examined through a hollow-fiber-supported liquid membrane using tri-n-octylamine (TOA) dissolved in toluene as an extractant. The transport system was studied as a function of several variables: the concentration of hydrochloric acid in feed solution, the concentration of TOA in the liquid membrane, the concentration of sodium hydroxide in the recovery solution. It was found that only mercury (II) ions were extracted because mercury (II) ions in the hydrochloric solution formed the anionic complex ions (HgC1[4subscript] [superscript2]) and TOA, a basic extractant, reacted with the anionic metal complex ions. Arsenic (III) ions were not extracted because they were in the neutral form. The maximum percentage of recovery for mercury (II) was 95% and the selectivity was 100% 2010-08-31T04:50:28Z 2010-08-31T04:50:28Z 2549 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13353 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2652594 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ไอออน
สารหนู
ปรอท
คลอไรต์
spellingShingle ไอออน
สารหนู
ปรอท
คลอไรต์
สีวลี แสงธำรง
การแยกปรอทและสารหนูโดยใช้เยื่อแผ่นเหลวที่พยุงด้วยเส้นใยกลวง
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
author2 อุรา ปานเจริญ
author_facet อุรา ปานเจริญ
สีวลี แสงธำรง
format Theses and Dissertations
author สีวลี แสงธำรง
author_sort สีวลี แสงธำรง
title การแยกปรอทและสารหนูโดยใช้เยื่อแผ่นเหลวที่พยุงด้วยเส้นใยกลวง
title_short การแยกปรอทและสารหนูโดยใช้เยื่อแผ่นเหลวที่พยุงด้วยเส้นใยกลวง
title_full การแยกปรอทและสารหนูโดยใช้เยื่อแผ่นเหลวที่พยุงด้วยเส้นใยกลวง
title_fullStr การแยกปรอทและสารหนูโดยใช้เยื่อแผ่นเหลวที่พยุงด้วยเส้นใยกลวง
title_full_unstemmed การแยกปรอทและสารหนูโดยใช้เยื่อแผ่นเหลวที่พยุงด้วยเส้นใยกลวง
title_sort การแยกปรอทและสารหนูโดยใช้เยื่อแผ่นเหลวที่พยุงด้วยเส้นใยกลวง
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13353
_version_ 1681410509476200448