กลวิธีทางภาษาในการวิจารณ์การเมืองทางอ้อมในบทความแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในหนังสือพิมพ์ไทย
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13357 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.13357 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
หนังสือพิมพ์ -- ไทย ภาษาไทย -- การใช้ภาษา การวิพากษ์ ไทย -- การเมืองและการปกครอง |
spellingShingle |
หนังสือพิมพ์ -- ไทย ภาษาไทย -- การใช้ภาษา การวิพากษ์ ไทย -- การเมืองและการปกครอง โศรยา วิมลสถิตพงษ์ กลวิธีทางภาษาในการวิจารณ์การเมืองทางอ้อมในบทความแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในหนังสือพิมพ์ไทย |
description |
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
author2 |
ศิริพร ภักดีผาสุข |
author_facet |
ศิริพร ภักดีผาสุข โศรยา วิมลสถิตพงษ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
โศรยา วิมลสถิตพงษ์ |
author_sort |
โศรยา วิมลสถิตพงษ์ |
title |
กลวิธีทางภาษาในการวิจารณ์การเมืองทางอ้อมในบทความแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในหนังสือพิมพ์ไทย |
title_short |
กลวิธีทางภาษาในการวิจารณ์การเมืองทางอ้อมในบทความแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในหนังสือพิมพ์ไทย |
title_full |
กลวิธีทางภาษาในการวิจารณ์การเมืองทางอ้อมในบทความแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในหนังสือพิมพ์ไทย |
title_fullStr |
กลวิธีทางภาษาในการวิจารณ์การเมืองทางอ้อมในบทความแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในหนังสือพิมพ์ไทย |
title_full_unstemmed |
กลวิธีทางภาษาในการวิจารณ์การเมืองทางอ้อมในบทความแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในหนังสือพิมพ์ไทย |
title_sort |
กลวิธีทางภาษาในการวิจารณ์การเมืองทางอ้อมในบทความแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในหนังสือพิมพ์ไทย |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2010 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13357 |
_version_ |
1681409820161212416 |
spelling |
th-cuir.133572010-08-31T08:37:12Z กลวิธีทางภาษาในการวิจารณ์การเมืองทางอ้อมในบทความแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในหนังสือพิมพ์ไทย Indirect linguistic strategies for political criticism in political opinion articles in Thai newspapers โศรยา วิมลสถิตพงษ์ ศิริพร ภักดีผาสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ หนังสือพิมพ์ -- ไทย ภาษาไทย -- การใช้ภาษา การวิพากษ์ ไทย -- การเมืองและการปกครอง วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 ศึกษาองค์ประกอบในการสื่อสารของบทความแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในหนังสือพิมพ์ไทย พร้อมทั้งวิเคราะห์องค์ประกอบของปริจเฉทอันได้แก่ ลักษณะโครงสร้างและเนื้อหา และศึกษากลวิธีทางภาษาในการวิจารณ์การเมืองทางอ้อม ในบทความแสดงความคิดเห็นทางการเมือง โดยเก็บข้อมูลจากบทความในหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ 2 ฉบับ คือ บทความชื่อ X คลูซีฟ ในมติชนสุดสัปดาห์ และบทความของโสภณ องค์การณ์ในเนชั่นสุดสัปดาห์ และหนังสือพิมพ์รายวัน 2 ฉบับ คือ บทความชื่อ คนปลายซอย ในไทยโพสต์ และบทความชื่อ หมายเหตุประเทศไทย ในไทยรัฐ เป็นระยะเวลา 1 ปี คือ ตั้งแต่เดือน มกราคม-ธันวาคม พ.ศ. 2548 รวมจำนวนข้อมูลที่ใช้ศึกษาในครั้งนี้ทั้งสิ้น 199 บทความ จากการศึกษาองค์ประกอบในการสื่อสารโดยใช้กรอบทฤษฎีชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสารพบว่าองค์ประกอบในการสื่อสารที่บทความแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในหนังสือพิมพ์ไทยมีร่วมกันคือ ฉาก ผู้ร่วมเหตุการณ์ จุดมุ่งหมาย เครื่องมือ การลำดับวัจนกรรม บรรทัดฐานของปฏิสัมพันธ์และการตีความ และประเภทการสื่อสาร องค์ประกอบในการสื่อสารที่แตกต่างกันคือ ฉาก ผู้ร่วมเหตุการณ์ และน้ำเสียง ส่วนองค์ประกอบในการสื่อสารที่สัมพันธ์และมีอิทธิพลต่อการวิจารณ์การเมืองทางอ้อมคือ ฉาก ผู้ร่วมเหตุการณ์ และบรรทัดฐานของปฏิสัมพันธ์และการตีความ เมื่อศึกษาองค์ประกอบของปริจเฉทประเภทนี้ซึ่งได้แก่ ลักษณะโครงสร้างและเนื้อหาก็พบว่า ด้านโครงสร้างนั้นมี 2 แบบ คือ โครงสร้างแบบ 3 ส่วนคือ ส่วนนำ ส่วนเนื้อหา และส่วนสรุป และโครงสร้างแบบ 2 ส่วน คือ ส่วนนำและส่วนเนื้อหา ด้านเนื้อหาก็มีประเด็นทางการเมืองที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการบริหารประเทศของรัฐบาล พฤติกรรมของนักการเมือง การทำงานของนักการเมือง เหตุการณ์ทางการเมือง รวมไปถึงผู้ที่มีความสัมพันธ์หรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับนักการเมือง นอกจากเนื้อหาด้านการเมืองแล้ว ผู้วิจัยพบว่า บทความแสดงความคิดเห็นทางการเมืองยังมีประเด็นด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และเรื่องเบ็ดเตล็ดทั่วไปอีกด้วย ส่วนผลการศึกษากลวิธีทางภาษาในการวิจารณ์การเมืองทางอ้อมในบทความ แสดงความคิดเห็นทางการเมืองพบว่ามีทั้งหมด 9 กลวิธี ได้แก่ การใช้ถ้อยคำนัยผกผัน การใช้คำถามเชิงวาทศิลป์ การใช้อุปลักษณ์ การใช้คำที่มีความหมายแฝง การใช้สำนวน การใช้คำเรียกบุคคล การใช้การเล่นภาษา การยกคำกล่าวของบุคคล และการแนะความหมาย โดยกลวิธีทางภาษาในการวิจารณ์การเมืองทางอ้อมเหล่านี้ มีหน้าที่ในการสื่อสารที่แตกต่างกันออกไป อาทิ เพื่อหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบต่อการวิจารณ์ เพื่อแสดงทัศนคติในเชิงลบของผู้เขียน และเพื่อชี้ให้เห็นข้อบกพร่องของรัฐบาลหรือนักการเมือง นอกจากนี้ยังพบว่า มีการใช้กลวิธีการเสริมการวิจารณ์การเมืองทางอ้อมเพื่อเพิ่มน้ำหนักหรือความน่าเชื่อถือ The study aims at analyzing political opinion articles in Thai newspapers in order to see the communicative components, the discourse components, including structure and contents, and mainly indirect linguistic strategies for political criticism. The data were collected from political opinion columns in two weekly newspapers, namely "X- clusive" in Matichon Weekly and "Sophon Ongkarn" in The Nation Weekly, and from two daily newspapers, namely "Khon Play Soi" in Thai Post and "May Het Prathet Thai" in Thairath. The articles published between January-December 2005 were selected on a systematic random basis. Totally, 199 articles were collected. Based on the Ethnography of communication analytical framework, it is found that the communicative components which these political opinion articles share in common include setting, participants, ends. act sequence, instrumentalities, norms of interaction and interpretation, and genre. The different components are setting, participants and key. The components that are related to and have influence upon the indirect political criticism includes setting, participants, and norms of interaction and interpretation. According to the analysis of discourse components including structure and contents, two structural patterns are found. The first one is three-part pattern which consists of introduction, body and conclusion. The other is two-part pattern which comprises introduction and body. The content analysis reveals that the political issues discussed in the articles cover a wide range of topics, for example the state administration, politicians' behaviors and political practices, political situations, and the people who are connected to politicians. In addition to political issues, it is found that some articles cover social and economic issues as well as miscellaneous topics. The investigation of the indirect linguistic strategies for political criticism indicates that nine strategies are employed including using verbal irony, using rhetorical questions, using metaphors, using words with connotative meanings, using proverbial expressions, using referring expressions, using speech play, using direct quotation and using implication. These indirect political criticizing strategies have different communicative functions such as disclaiming responsibility for criticism, expressing the authors' negative attitude, and highlighting the failures or malpractices of the government and politicians. Additionally, some supporting strategies are used in order to increase the credibility of the criticism. 2010-08-31T08:37:11Z 2010-08-31T08:37:11Z 2549 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13357 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 18297568 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |