การบังคับคดีโดยเอกชน

วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อมรรัตน์ รัตนกิจเจริญ
Other Authors: สำเรียง เมฆเกรียงไกร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13467
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.13467
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การบังคับคดี -- ไทย
การบังคับคดี -- ฝรั่งเศส
การบังคับคดี -- สหราชอาณาจักร
การบังคับชำระหนี้
spellingShingle การบังคับคดี -- ไทย
การบังคับคดี -- ฝรั่งเศส
การบังคับคดี -- สหราชอาณาจักร
การบังคับชำระหนี้
อมรรัตน์ รัตนกิจเจริญ
การบังคับคดีโดยเอกชน
description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
author2 สำเรียง เมฆเกรียงไกร
author_facet สำเรียง เมฆเกรียงไกร
อมรรัตน์ รัตนกิจเจริญ
format Theses and Dissertations
author อมรรัตน์ รัตนกิจเจริญ
author_sort อมรรัตน์ รัตนกิจเจริญ
title การบังคับคดีโดยเอกชน
title_short การบังคับคดีโดยเอกชน
title_full การบังคับคดีโดยเอกชน
title_fullStr การบังคับคดีโดยเอกชน
title_full_unstemmed การบังคับคดีโดยเอกชน
title_sort การบังคับคดีโดยเอกชน
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13467
_version_ 1681411594101194752
spelling th-cuir.134672010-09-13T07:13:41Z การบังคับคดีโดยเอกชน Private execution อมรรัตน์ รัตนกิจเจริญ สำเรียง เมฆเกรียงไกร พิมลรัตน์ วรรธนะหทัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ การบังคับคดี -- ไทย การบังคับคดี -- ฝรั่งเศส การบังคับคดี -- สหราชอาณาจักร การบังคับชำระหนี้ วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 การมีหนี้เกิดขึ้นและลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้คืนให้แก่เจ้าหนี้ได้ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการติดตาม หรือบังคับคดีทรัพย์สินกลับคืนมาเกิดความล่าช้า และไม่ได้มูลค่าที่ควรจะขายได้ยิ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องดังกล่าวหนักเป็นทวีคูณ จากการศึกษาวิจัยพบว่า การบังคับคดีของไทยยังมีปัญหาการบังคับคดีที่ล่าช้าและขายทรัพย์ได้ราคาต่ำ ซึ่งสาเหตุหลักของการบังคับคดีที่ล่าช้านั้นเนื่องจากว่า ผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจ และการเงิน พ.ศ. 2540 ทำให้มีคดีคั่งค้างอยู่ที่กรมบังคับคดีมากมาย ประกอบกับรัฐบาลได้มีนโยบายลดขนาด และอัตรากำลังคนภาครัฐลง ทำให้จำนวนเจ้าพนักงานบังคับคดีที่จะปฏิบัติหน้าที่บังคับคดีไม่เพียงพอ อีกทั้งในการบังคับคดียังมีปัญหาในทางปฏิบัติ และปัญหาทางกฎหมาย ทำให้การบังคับคดีมีความล่าช้า และขายทรัพย์ได้ในราคาต่ำ หากมีการบังคับคดีที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ และสามารถขายทรัพย์ได้ในราคาสูงจะเป็นการคุ้มครองสิทธิของเจ้าหนี้ ลูกหนี้ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในประเทศฝรั่งเศสซึ่งเป็นต้นแบบของระบบบังคับคดีเอกชน และต่อมาประเทศอังกฤษ และประเทศอื่นๆ ได้ประสบความสำเร็จในการนำระบบบังคับคดีโดยเอกชนของประเทศฝรั่งเศสมาใช้ ดังนั้น ในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้จึงได้ทำการศึกษาวิเคราะห์ถึง หลักกฎหมายการบังคับคดีเอกชนในประเทศฝรั่งเศส และประเทศอังกฤษ ซึ่งจากการศึกษาวิจัยพบว่าระบบกฎหมายบังคับคดีโดยเอกชนของทั้ง 2 ประเทศดังกล่าว เป็นระบบที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เมื่อนำหลักกฎหมายบังคับคดีเอกชนของประเทศดังกล่าวมาปรับใช้ในประเทศไทย จะทำให้การบังคับคดีมีความรวดเร็วขึ้น และขายทรัพย์ได้ราคาสูงขึ้น เป็นการส่งเสริมนโยบายของรัฐ และสามารถคุ้มครองสิทธิทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ดี หากมีการนำหลักการบังคับคดีโดยเอกชนมาใช้ในประเทศไทย อาจมีปัญหาในทางกฎหมายได้ เนื่องจากการบังคับคดีกับทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษานั้นเป็นการกระทบสิทธิของบุคคล ดังนั้น หากมีการนำกฎหมายบังคับคดีโดยเอกชนมาปรับใช้จะต้องมีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย โดยกำหนดรายละเอียด และสาระสำคัญของการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานบังคับคดีเอกชนให้ชัดเจน เพื่อให้การดำเนินงานสามารถคุ้มครองทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ The debtor’s inability to pay back the outstanding debts cause damages to every related party. If the collection or legal execution process to forfeit the assets is delay or the sale proceeds after execution are below market value, this will result in even more damages to every party. The research found that there were still problems and obstacles in legal execution process in Thailand which result in delayed execution or below market value proceeds after execution. The main causes of delayed execution process were from overloaded execution cases at Legal Execution Department since economic and financial crisis in 1997 while the government had policy to decrease numbers of officer which resulted in shortage or insufficient numbers of executive officer. In addition to above reason, there were still other obstacles in practice which related to execution process itself and related regulations which resulted in delayed execution or below market value proceeds after execution. If the legal execution process is well organized, fasten and be able to sell foreclosed assets at higher price, the right of debtors, creditors and other related parties will be protected. France has been a model of private execution system, and later on England and other countries who adopted the said model have been successfully implemented within their own countries. Hence, this research’s objective is to study about the principles of private execution in France and England. The research found that the private legal execution of those two countries is suitable and efficiency. The future adoption of private execution system in Thailand will help accelerating the current legal process and also expect to generate higher proceeds from foreclosed asset sales at the end. Also, this will further support government policy in which help improving the legal process in Thailand and also help protecting every party’s benefit and right. In addition, the research also studies the effect of private legal execution principle to apply in Thailand. There are some concerns related to the implementation of private legal execution and related regulations. Currently, executing and selling foreclosed properties affect personnel right. In order to be able to apply private legal execution in Thailand, the amendments of legal execution law must be necessary to clearly address the details and practice procedures for private execution officers to ensure the efficiency and protection to every related party. 2010-09-13T07:13:40Z 2010-09-13T07:13:40Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13467 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4470312 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย