ความถูกต้องเที่ยงธรรมของข่าวในทัศนะของแหล่งข่าว

วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วีระวรรณ อริยจิตไพศาล
Other Authors: ดวงกมล ชาติประเสริฐ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13484
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.13484
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การสื่อข่าวและการเขียนข่าว
จรรยาบรรณนักหนังสือพิมพ์
spellingShingle การสื่อข่าวและการเขียนข่าว
จรรยาบรรณนักหนังสือพิมพ์
วีระวรรณ อริยจิตไพศาล
ความถูกต้องเที่ยงธรรมของข่าวในทัศนะของแหล่งข่าว
description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
author2 ดวงกมล ชาติประเสริฐ
author_facet ดวงกมล ชาติประเสริฐ
วีระวรรณ อริยจิตไพศาล
format Theses and Dissertations
author วีระวรรณ อริยจิตไพศาล
author_sort วีระวรรณ อริยจิตไพศาล
title ความถูกต้องเที่ยงธรรมของข่าวในทัศนะของแหล่งข่าว
title_short ความถูกต้องเที่ยงธรรมของข่าวในทัศนะของแหล่งข่าว
title_full ความถูกต้องเที่ยงธรรมของข่าวในทัศนะของแหล่งข่าว
title_fullStr ความถูกต้องเที่ยงธรรมของข่าวในทัศนะของแหล่งข่าว
title_full_unstemmed ความถูกต้องเที่ยงธรรมของข่าวในทัศนะของแหล่งข่าว
title_sort ความถูกต้องเที่ยงธรรมของข่าวในทัศนะของแหล่งข่าว
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13484
_version_ 1681413118414028800
spelling th-cuir.134842010-09-17T07:31:40Z ความถูกต้องเที่ยงธรรมของข่าวในทัศนะของแหล่งข่าว Accuracy and fairness of news in news source views วีระวรรณ อริยจิตไพศาล ดวงกมล ชาติประเสริฐ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ การสื่อข่าวและการเขียนข่าว จรรยาบรรณนักหนังสือพิมพ์ วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 ศึกษาความคิดเห็นของแหล่งข่าวในเรื่องความถูกต้องเที่ยงธรรม ลักษณะความไม่ถูกต้องเที่ยงธรรมที่เกิดขึ้น และปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความไม่ถูกต้องเที่ยงธรรม รวมทั้งวิเคราะห์ความไม่ถูกต้องเที่ยงธรรม และปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดควาไม่มถูกต้องเที่ยงธรรมของแหล่งข่าวต่างประเภทกัน งานวิจัยนี้เป็นการสัมภาษณ์เชิงลึก แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนแรกสัมภาษณ์แหล่งข่าวที่เคยมีประสบการณ์ในการให้สัมภาษณ์แก่นักข่าว โดยแบ่งแหล่งข่าวเป็น 6 ประเภท ได้แก่ การเมือง เศรษฐกิจ ข่าวบันเทิง อาชญากรรม ไอที และสังคมทั่วไป รวม 32 ราย ส่วนที่สอง เป็นการสัมภาษณ์แหล่งข่าวที่ให้สัมภาษณ์แก่นักข่าว และนำเนื้อหาข่าวให้แหล่งข่าวดู 5 ราย และวิเคราะห์ความถูกต้องเที่ยงธรรมและปัจจัย ที่ส่งผลให้เกิดความถูกต้องเที่ยงธรรมของแหล่วงข่าวต่างประเภทกัน ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ส่วนที่ 1 พบว่า ความคิดเห็นของแหล่งข่าวในเรื่องความถูกต้องเที่ยงธรรม สำหรับแหล่งข่าวที่เคยมีประสบการณ์ในการให้สัมภาษณ์แก่นักข่าวนั้น พบว่า แหล่งข่าวอาชญากรรมมีความเห็นว่าเนื้อหาที่นำเสนอมีความคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง ส่วนแหล่งข่าวที่เหลือมีความเห็นว่าส่วนใหญ่ถูกต้อง และมักพบความผิดพลาดซึ่งมีตั้งแต่ระดับเล็กๆ น้อยๆ ไปจนถึงมีผลกระทบต่อแหล่งข่าวอย่างรุนแรง ลักษณะความไม่ถูกต้องเที่ยงธรรมที่พบได้แก่ นักข่าวไม่ได้สัมภาษณ์แหล่งข่าวแต่นำไปเสนอ แหล่งข่าวพูดอย่างหนึ่ง แต่นักข่าวนำเสนออีกอย่างหนึ่ง นำประเด็นย่อยมาเป็นประเด็นใหญ่ พูดเกินจริง ตัดต่อ แต่งเติมข้อความที่นำเสนอ ทำให้ความหมายเปลี่ยน ตีความผิด การใส่ความเห็นของนักข่าว การนำเสนอข่าวด้านเดียว การพาดหัวข่าวหวือหวา ทำให้เข้าใจผิด และปัญหาการใช้ภาษา ส่วนปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความไม่ถูกต้องเที่ยงธรรม ได้แก่ การใช้ภาษาของแหล่งข่าว บิดเบือนโดยเจตนา อคติ ทัศนคติ นักข่าวมีคำตอบอยู่ในใจแล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างแหล่งข่าวกับนักข่าว นโยบายขององค์กร พื้นความรู้ของนักข่าว ความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่สัมภาษณ์ ประสบการณ์ในการทำข่าว การเตรียมพร้อมของนักข่าว บิดเบือนโดยไม่เจตนา การคัดลอกข่าว และธรรมชาติในการดำเนินงานของหนังสือพิมพ์ ส่วนที่ 2 พบว่า การนำเสนอเนื้อหานั้นส่วนใหญ่ถูกต้องและพบข้อผิดพลาดเล็กๆ น้อยๆ แต่เนื้อหาที่ต้องการสื่อยังคงอยู่ ลักษณะความไม่ถูกต้องเที่ยงธรรมที่พบได้แก่ พูดอย่างหนึ่ง แต่นักข่าวไปเสนออีกอย่าง ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความไม่ถูกต้องเที่ยงธรรม ได้แก่ นักข่าวฟังผิด ตัดต่อ แต่งเติมข้อความที่นำเสนอ และความสามารถในการจับประเด็น ส่วนการวิเคราะห์ความไม่ถูกต้องเที่ยงธรรมและปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความไม่ถูกต้องเที่ยงธรรม ของแหล่วงข่าวต่างประเภทกัน พบว่า แหล่งข่าวทุกประเภทพบลักษณะความไม่ถูกต้องเที่ยงธรรมเหมือนกัน คือ พูดอย่างหนึ่ง นักข่าวนำเสนออีกอย่างหนึ่ง ตัดต่อ แต่งเติมข้อความเพื่อนำเสนอทำให้ความหมายเปลี่ยน และการใส่ความเห็นของนักข่าว ส่วนปัจจัยที่เหมือนกัน คือ บิดเบือนโดยเจตนา ความสัมพันธ์ระหว่างแหล่งข่าวกับนักนักข่าว และนโยบายองค์กร To study how news sources think about accuracy and fairness in news report, what types of inaccuracy and unfairness are there, and why they exist. Also, this research compares the inaccuracy and unfairness detected in different news categories. In-depth interviews were used to collect information for two parts. The first part was based on interviews of 32 people who gave interviews to reporters in six news categories: political, business, entertainment, crime, IT and social news. The second part was based on information from five people who commented on news reports relating to their interviews given to reporters. These five respondents were also asked to analyze the accuracy and fairness in the reports, and to identify factors causing the inaccuracy and unfairness in the news reports, if any. For the first part, the research found that crime-news sources felt there were discrepancies between news content and facts. Sources for other news categories said the news reports were mostly accurate with some mistakes from minor to serious ones. The unfairness detected in the reports were: quoting the sources who did not give interview, misquoting the sources, highlighting a minor issue, exaggeration, putting the quote out of context, putting the quote into different context thus changing its meaning, misinterpretation of quotes, adding reporters’ comments, giving one-sided reports, sensationalized headlines causing misunderstanding and language problems. Factors behind the unfairness in news reports were sources’ language problems, reporters’ intentional distortion of news content, prejudices, portrayal of news reports based on reporters’ pre-determined ideas, relationships between news sources and reporters, organizational policies, reporters’ knowledge background, their knowledge about issues they were covering and how much they had prepared themselves for the coverage, unintentional distortion of news contents, copying information from other media and some problems in the nature of newspaper business. For the second part, the respondents said the news content was mostly accurate with only minor mistake and the main idea remaining unchanged. Still, there existed unfairness in the reports as the sources talked one thing but the reporters presented something different. Factors behind such unfairness were the fact that reporters misheard the information, or put the quotes of context, or misunderstood the point. On the comparison on the unfairness in news reports of different category, the research found that sources for all news categories had faced similar problems about inaccuracy and unfairness. The problem was that they talked about one thing, but the reporters presented something different: putting their quotes out of context thus changing their meaning, and that the reporters often put in their opinions into news reporters. The common factors were intentional distortion, relationships between news sources and reporters, and organizational policies. 2010-09-17T07:31:39Z 2010-09-17T07:31:39Z 2549 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13484 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1979465 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย