การศึกษาเปรียบเทียบธุรกิจแฟรนไชส์กับข้อสัญญาจำกัดสิทธิห้ามผู้รับอนุญาตแข่งขันในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ : บทเรียนสำหรับประเทศไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
ธุรกิจแฟรนไชส์เป็นภาคธุรกิจที่ใหญ่มากในระบบเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาแล้วเช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และประเทศญี่ปุ่น ธุรกิจแฟรนไชส์เป็นธุรกิจที่ได้รับความนิยมเนื่องจากเป็นระบบธุรกิจที่มีประสิทธิภาพสูง กล่าวคือ ทำให้ผู้ให้อนุญาตสามารถขยายเครือข่ายธุรกิจแฟรนไชส์ของตนได้อย่างรวดเร็...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13562 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.13562 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
แฟรนไชส์ แฟรนไชส์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- สัญญา |
spellingShingle |
แฟรนไชส์ แฟรนไชส์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- สัญญา ศักดา ธนิตกุล การศึกษาเปรียบเทียบธุรกิจแฟรนไชส์กับข้อสัญญาจำกัดสิทธิห้ามผู้รับอนุญาตแข่งขันในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ : บทเรียนสำหรับประเทศไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
description |
ธุรกิจแฟรนไชส์เป็นภาคธุรกิจที่ใหญ่มากในระบบเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาแล้วเช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และประเทศญี่ปุ่น ธุรกิจแฟรนไชส์เป็นธุรกิจที่ได้รับความนิยมเนื่องจากเป็นระบบธุรกิจที่มีประสิทธิภาพสูง กล่าวคือ ทำให้ผู้ให้อนุญาตสามารถขยายเครือข่ายธุรกิจแฟรนไชส์ของตนได้อย่างรวดเร็วมาก โดยไม่ต้องใช้เงินจำนวนมากในการขยายเครือข่าย และผู้ได้รับอนุญาตเองก็ได้รับประโยชน์จากการที่สามารถเข้าสู่ตลาดจัดกระจายสินค้าและบริการ ในฐานะนักลงทุนและผู้ประกอบการโดยง่ายและโอกาสที่ธุรกิจจะล้มเหลวก็ต่ำลง เนื่องจากในระบบธุรกิจแฟรนไชส์ผู้ให้อำนาจจะมีอำนาจตลาด หรืออำนาจต่อรองเหนือกว่าผู้รับอนุญาต จึงมีแนวโน้มสูงที่ผู้ให้อนุญาตจะใช้อำนาจดังกล่าวโดยไม่ชอบธรรมโดยการเขียนข้อสัญญาที่มีลักษณะจำกัดการแข่งขัน หรือข้อสัญญาจำกัดไม่ให้ผู้รับอนุญาตประกอบธุรกิจแข่งกับตนลงในสัญญาแฟรนไชส์ และบังคับให้ผู้รับอนุญาตต้องรับข้อสัญญาดังกล่าว ในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศญี่ปุ่นและประเทศเกาหลีใต้ ข้อสัญญาจำกัดการแข่งขัน และข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันของผู้รับอนุญาต จะตกอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายแข่งขันทางการค้า ในประเทศสหรัฐอเมริกาจะตกอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมาย Sherman กฎหมาย Clayton กฎหมาย Fair Trade Commission ส่วนข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันของผู้รับอนุญาตจะตกอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายสัญญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งกฎหมายที่เกิดจากคำพิพากษาของศาลยุติธรรม ในประเทศอังกฤษ ข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันของผู้รับอนุญาตจะตกอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายสัญญา ในแง่มุมมองของการกำกับดูแลธุรกิจแฟรนไชส์แล้ว ประเทศไทยเกิดตามแนวของประเทศอังกฤษ โดยการประกาศใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 ซึ่งมีผลทำให้ข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันและข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันของผู้ให้อนุญาตตกอยู่ภายใต้บังคับของบทบัญญัติมาตรา 5 ของพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 และตามบทบัญญัติมาตรา 150 ของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ศาลไทยต้องพิจารณาก่อนว่าข้อสัญญาจำกัดการแข่งขัน หรือข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันของผู้รับอนุญาตในสัญญาแฟรนไชส์ ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือไม่ หากไม่ขัด ศาลจึงมีอำนาจที่จะปรับลดระดับความไม่เป็นธรรมของข้อสัญญานั้น ให้อยู่ในระดับที่เป็นธรรมแก่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายได้ หากพิจารณาแนวคำพิพากษาของศาลฎีกาแล้วจะเห็นได้ว่า ศาลฎีกาไม่เคยตัดสินให้ข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันของลูกจ้างตกเป็นโมฆะเลย ในทางตรงกันข้ามศาลฎีกาตัดสินว่าข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันเป็นข้อสัญญาที่มีผลใช้บังคับได้ ซึ่งบทบัญญัติมาตรา 5 จะทำให้ศาลไทยมีทั้งอำนาจและความยืดหยุ่นที่จะปรับเปลี่ยนข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันของผู้รับอนุญาตให้สะท้อนดุลยภาพที่เป็นธรรมของผลประโยชน์ของคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายได้เหมาะสมและยุติธรรมขึ้นอย่างแน่นอน |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ ศักดา ธนิตกุล |
format |
Technical Report |
author |
ศักดา ธนิตกุล |
author_sort |
ศักดา ธนิตกุล |
title |
การศึกษาเปรียบเทียบธุรกิจแฟรนไชส์กับข้อสัญญาจำกัดสิทธิห้ามผู้รับอนุญาตแข่งขันในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ : บทเรียนสำหรับประเทศไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
title_short |
การศึกษาเปรียบเทียบธุรกิจแฟรนไชส์กับข้อสัญญาจำกัดสิทธิห้ามผู้รับอนุญาตแข่งขันในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ : บทเรียนสำหรับประเทศไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
title_full |
การศึกษาเปรียบเทียบธุรกิจแฟรนไชส์กับข้อสัญญาจำกัดสิทธิห้ามผู้รับอนุญาตแข่งขันในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ : บทเรียนสำหรับประเทศไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
title_fullStr |
การศึกษาเปรียบเทียบธุรกิจแฟรนไชส์กับข้อสัญญาจำกัดสิทธิห้ามผู้รับอนุญาตแข่งขันในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ : บทเรียนสำหรับประเทศไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
title_full_unstemmed |
การศึกษาเปรียบเทียบธุรกิจแฟรนไชส์กับข้อสัญญาจำกัดสิทธิห้ามผู้รับอนุญาตแข่งขันในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ : บทเรียนสำหรับประเทศไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
title_sort |
การศึกษาเปรียบเทียบธุรกิจแฟรนไชส์กับข้อสัญญาจำกัดสิทธิห้ามผู้รับอนุญาตแข่งขันในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ : บทเรียนสำหรับประเทศไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2010 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13562 |
_version_ |
1681409345780187136 |
spelling |
th-cuir.135622010-10-04T02:59:55Z การศึกษาเปรียบเทียบธุรกิจแฟรนไชส์กับข้อสัญญาจำกัดสิทธิห้ามผู้รับอนุญาตแข่งขันในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ : บทเรียนสำหรับประเทศไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ A Comparative study of franchise business and non-competition covenants in United States, France, Germany, Japan and South Korea : lessons for Thailand ศักดา ธนิตกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ แฟรนไชส์ แฟรนไชส์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- สัญญา ธุรกิจแฟรนไชส์เป็นภาคธุรกิจที่ใหญ่มากในระบบเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาแล้วเช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และประเทศญี่ปุ่น ธุรกิจแฟรนไชส์เป็นธุรกิจที่ได้รับความนิยมเนื่องจากเป็นระบบธุรกิจที่มีประสิทธิภาพสูง กล่าวคือ ทำให้ผู้ให้อนุญาตสามารถขยายเครือข่ายธุรกิจแฟรนไชส์ของตนได้อย่างรวดเร็วมาก โดยไม่ต้องใช้เงินจำนวนมากในการขยายเครือข่าย และผู้ได้รับอนุญาตเองก็ได้รับประโยชน์จากการที่สามารถเข้าสู่ตลาดจัดกระจายสินค้าและบริการ ในฐานะนักลงทุนและผู้ประกอบการโดยง่ายและโอกาสที่ธุรกิจจะล้มเหลวก็ต่ำลง เนื่องจากในระบบธุรกิจแฟรนไชส์ผู้ให้อำนาจจะมีอำนาจตลาด หรืออำนาจต่อรองเหนือกว่าผู้รับอนุญาต จึงมีแนวโน้มสูงที่ผู้ให้อนุญาตจะใช้อำนาจดังกล่าวโดยไม่ชอบธรรมโดยการเขียนข้อสัญญาที่มีลักษณะจำกัดการแข่งขัน หรือข้อสัญญาจำกัดไม่ให้ผู้รับอนุญาตประกอบธุรกิจแข่งกับตนลงในสัญญาแฟรนไชส์ และบังคับให้ผู้รับอนุญาตต้องรับข้อสัญญาดังกล่าว ในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศญี่ปุ่นและประเทศเกาหลีใต้ ข้อสัญญาจำกัดการแข่งขัน และข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันของผู้รับอนุญาต จะตกอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายแข่งขันทางการค้า ในประเทศสหรัฐอเมริกาจะตกอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมาย Sherman กฎหมาย Clayton กฎหมาย Fair Trade Commission ส่วนข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันของผู้รับอนุญาตจะตกอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายสัญญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งกฎหมายที่เกิดจากคำพิพากษาของศาลยุติธรรม ในประเทศอังกฤษ ข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันของผู้รับอนุญาตจะตกอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายสัญญา ในแง่มุมมองของการกำกับดูแลธุรกิจแฟรนไชส์แล้ว ประเทศไทยเกิดตามแนวของประเทศอังกฤษ โดยการประกาศใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 ซึ่งมีผลทำให้ข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันและข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันของผู้ให้อนุญาตตกอยู่ภายใต้บังคับของบทบัญญัติมาตรา 5 ของพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 และตามบทบัญญัติมาตรา 150 ของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ศาลไทยต้องพิจารณาก่อนว่าข้อสัญญาจำกัดการแข่งขัน หรือข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันของผู้รับอนุญาตในสัญญาแฟรนไชส์ ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือไม่ หากไม่ขัด ศาลจึงมีอำนาจที่จะปรับลดระดับความไม่เป็นธรรมของข้อสัญญานั้น ให้อยู่ในระดับที่เป็นธรรมแก่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายได้ หากพิจารณาแนวคำพิพากษาของศาลฎีกาแล้วจะเห็นได้ว่า ศาลฎีกาไม่เคยตัดสินให้ข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันของลูกจ้างตกเป็นโมฆะเลย ในทางตรงกันข้ามศาลฎีกาตัดสินว่าข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันเป็นข้อสัญญาที่มีผลใช้บังคับได้ ซึ่งบทบัญญัติมาตรา 5 จะทำให้ศาลไทยมีทั้งอำนาจและความยืดหยุ่นที่จะปรับเปลี่ยนข้อสัญญาจำกัดการแข่งขันของผู้รับอนุญาตให้สะท้อนดุลยภาพที่เป็นธรรมของผลประโยชน์ของคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายได้เหมาะสมและยุติธรรมขึ้นอย่างแน่นอน Franchise business occupies the substantial part of the economies, especially in advanced economies like the United States, the European Union and Japan. It is popular because of its market efficiency - franchisor can expand his business network rapidly without huge investment capital and franchisee can enter the distribution and service market, as investor-cum-entrepreneur, with lower business risk. Because of having market power or at least bargaining power over franchisees, a franchisor tends to abuse the market power by imposing anti-competitve (restrictive) clauses and non-compete covenants upon a franchisee. These two types of anti-competitive clauses and non-compete covenants are mainly regulated by competition laws or competition-related regulations in the European Union, Germany, France, Japan and South Korea. In the United States, anti-competitive clauses are mainly regulated by the Sherman Act, the Clayton Act, the Federal Trade Competition Act and State Anti-trust legislations while non-compete covenants are regulated by the law of contract, especially case law. In England, the Franchise business and those two types of business restrictive clauses are under the law of contract. With regard to regulating franchise business, Thailand has adopted the similar approach to England by enacting the Unfair Business Clause Act B.E. 2540 in November 1997. Therefore anti-competitive clauses and non-compete covenants are now regulated by section 5 of the Unfair Business Clause Act of B.E. 2540 and Section 150 of the Thai Civil and Commercial Code. The Thai Courts are required by Section 5 to scrutinize whether an anti-competitive clause or a non-compete covenant in a franchise agreement violates the public policy or good moral or not. If not, then a court is authorized to amend the anti-competitive clause or a non-compete covenant that he deems grossly unfair to the other party of the franchise agreement to the extent that he thinks the balance of interest of the franchisor and franchisee is fairly struck. Under the Thai Jurisprudence, the Thai Supreme Court has never ruled that any non-compete covenant was void. On the contrary, the Thai Supreme Court has always held that those non-compete clauses were valid. The provision of section 5 will certainly provide the Thai courts the power and flexibility to strike a fair balance between two competing interest - franchisor’s and franchisee’s. ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2010-10-02T09:27:48Z 2010-10-02T09:27:48Z 2549 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13562 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9935127 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |