อิทธิพลของอุณหภูมิ เวลา และการบดย่อยต่อสมบัติทางกายภาพของเม็ดแป้งมันสำปะหลังและอัตราการสังเคราะห์ไซโคลเด็กซ์ทริน

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ณัฐญา ปาลวัฒน์, 2515-
Other Authors: สีรง ปรีชานนท์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1362
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.1362
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
author2 สีรง ปรีชานนท์
author_facet สีรง ปรีชานนท์
ณัฐญา ปาลวัฒน์, 2515-
format Theses and Dissertations
author ณัฐญา ปาลวัฒน์, 2515-
spellingShingle ณัฐญา ปาลวัฒน์, 2515-
อิทธิพลของอุณหภูมิ เวลา และการบดย่อยต่อสมบัติทางกายภาพของเม็ดแป้งมันสำปะหลังและอัตราการสังเคราะห์ไซโคลเด็กซ์ทริน
author_sort ณัฐญา ปาลวัฒน์, 2515-
title อิทธิพลของอุณหภูมิ เวลา และการบดย่อยต่อสมบัติทางกายภาพของเม็ดแป้งมันสำปะหลังและอัตราการสังเคราะห์ไซโคลเด็กซ์ทริน
title_short อิทธิพลของอุณหภูมิ เวลา และการบดย่อยต่อสมบัติทางกายภาพของเม็ดแป้งมันสำปะหลังและอัตราการสังเคราะห์ไซโคลเด็กซ์ทริน
title_full อิทธิพลของอุณหภูมิ เวลา และการบดย่อยต่อสมบัติทางกายภาพของเม็ดแป้งมันสำปะหลังและอัตราการสังเคราะห์ไซโคลเด็กซ์ทริน
title_fullStr อิทธิพลของอุณหภูมิ เวลา และการบดย่อยต่อสมบัติทางกายภาพของเม็ดแป้งมันสำปะหลังและอัตราการสังเคราะห์ไซโคลเด็กซ์ทริน
title_full_unstemmed อิทธิพลของอุณหภูมิ เวลา และการบดย่อยต่อสมบัติทางกายภาพของเม็ดแป้งมันสำปะหลังและอัตราการสังเคราะห์ไซโคลเด็กซ์ทริน
title_sort อิทธิพลของอุณหภูมิ เวลา และการบดย่อยต่อสมบัติทางกายภาพของเม็ดแป้งมันสำปะหลังและอัตราการสังเคราะห์ไซโคลเด็กซ์ทริน
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1362
_version_ 1681411016048508928
spelling th-cuir.13622008-02-04T05:15:12Z อิทธิพลของอุณหภูมิ เวลา และการบดย่อยต่อสมบัติทางกายภาพของเม็ดแป้งมันสำปะหลังและอัตราการสังเคราะห์ไซโคลเด็กซ์ทริน Influences of temperature, time and attrition on physical properties of tapioca starch particles and cyclodextrin systhesis rate ณัฐญา ปาลวัฒน์, 2515- สีรง ปรีชานนท์ ธวัชชัย ชรินพาณิชกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอิทธิพลของอุณหภูมิ เวลา และการบดย่อย ต่อสมบัติทางกายภาพของเม็ดแป้งมันสำปะหลังและต่ออัตราการผลิตเบต้า-ไซโคลเด็กซ์ทริน (beta-CD) แรกเริ่ม โดยใช้เอนไซม์ไซโคลเด็กซ์ทรินไกลโคซิลทรานสเฟอเรส (CGTase) จากเชื้อ Bacillus circulans ATCC9995 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา การทดลองในงานวิจัยนี้จึงถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่ๆ คือ ส่วนแรกเป็นการศึกษาถึงอิทธิพลของอุณหภูมิ (60 องศา-80 องศาเซลเซียส) เวลา (0-24 ชม.) และการบดย่อย ต่อลักษณะทางกายภาพของเม็ดแป้งมันสำปะหลัง ซึ่งได้แก่ กำลังการพองตัว ร้อยละการละลาย ความหนืด และขนาดของอนุภาคเม็ดแป้ง และส่วนที่สองเป็นการศึกษาถึงอัตราการผลิต beta-CD แรกเริ่ม (initial rate) โดยใช้สารตั้งต้น คือแป้งที่ผ่านสภาวะการปฏิบัติต่างกัน จากการทดลองพบว่า ลักษณะทางกายภาพของเม็ดแป้งที่ผ่านการเตรียมโดยวิธีการบ่ม จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนในช่วงระยะเวลาการบ่ม 4 ชม. แรก โดยกำลังการพองตัวและร้อยละการละลายที่อุณหภูมิบ่ม 60 องศาเซลเซียสภายหลัง 4 ชม. และมีค่าต่ำกว่าที่อุณหภูมิ 65 องศาเซลเซียส ประมาณ 50% (ที่ระยะเวลาบ่ม 4 ชม.) และ 20% (ที่ระยะเวลาบ่ม 24 ชม.) ตามลำดับ การเพิ่มอุณหภูมิในการบ่มเป็น 65 องศา, 70 องศา, 75 องศาและ 80 องศาเซลเซียส จะทำให้ค่าความหนืดเริ่มต้นของสารละลายแป้งเพิ่มขึ้นประมาณ 40-80% ในทุก 5 องศาเซลเซียสที่เพิ่มขึ้นขึ้น แต่ค่าความหนืดจะเริ่มเข้าสู่ค่าคงที่ภายหลังการบ่ม 4 ชม. ในทุกอุณหภูมิบ่ม การบ่มแป้งที่อุณหภูมิตั้งแต่ 65 องศาเซลเซียส เป็นต้นไป จะให้ขนาดเม็ดแป้งลดลงตามระยะเวลาบ่ม ที่อุณหภูมิบ่ม 80 องศาเซลเซียส ขนาดเม็ดแป้งจะลดลงจนมีขนาดเท่ากับเม็ดแป้งดิบก่อนทำการบ่ม ดังนั้นขนาดเม็ดแป้งที่วัดได้จึงเป็นขนาดของเม็ดแป้งที่หลงเหลือจากการแตกเนื่องจากได้รับพลังงานความร้อนและแรงทางกลจากการกวน ระยะเวลาในการบ่มจะมีผลต่อสมบัติทางกายภาพของเม็ดแป้งก็ต่อเมื่ออุณหภูมิบ่มมีค่าตั้งแต่ 65 องศาเซลเซียส เป็นต้นไป โดยพบว่าอนุภาคของแป้งมันสำปะหลังเมื่อได้รับความร้อนเป็นระยะเวลาหนึ่งจะพองตัวขึ้นเรื่อยๆจนมีค่าสูงสุดประมาณ 43 ไมครอน ซึ่งหากยังคงให้พลังงานความร้อนต่อไปอนุภาคจะเริ่มแตกออก ทำให้ความสามารถในการละลายเพิ่มขึ้น และความหนืดลดลงตามลำดับ การบดสารละลายแป้งสามารถทำได้ที่อุณหภูมิสูงสุดเพียง 60 องศาเซลเซียส เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงกว่านี้จะมีผลทำให้สารละลายแป้งมีลักษณะคล้ายเจลทำการบดได้ยาก แต่อย่างไรก็ตามผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าการบดโดยใช้ความร้อนร่วมด้วย (พิจารณาที่ 60 องศาเซลเซียส) จะให้ร้อยละการละลายใกล้เคียงกับ แต่จะมีค่ากำลังการพองตัว ความหนืด และขนาดของเม็ดแป้ง เพิ่มขึ้นประมาณ 55%, 95% และ 25% ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับการบ่มด้วยความร้อนแต่เพียงอย่างเดียว ผลการทดลองในส่วนที่สองแสดงให้เห็นว่าลักษณะทางภายภาพของเม็ดแป้งเป็นปัจจัยสำคัญต่ออัตราการผลิต Beta-CD โดยแป้งที่ผ่านการบ่มด้วยความร้อนเป็นระยะเวลาหนึ่งจนอนุภาคแตกออก เป็นสารตั้งต้นที่เหมาะสมต่อการผลิต Beta-CD ภาวะการเตรียมสารละลายแป้งที่เหมาะสมที่สุดต่อการเกิดปฏิกิริยาคือ การบ่มแป้งที่อุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 ชม. ซึ่งที่ภาวะนี้แป้งมีค่าความหนืดประมาณ 900 เซ็นติพอยส์ และเม็ดแป้งที่หลงเหลือจากการแตกมีขนาดประมาณ 30 ไมครอน โดยให้อัตราการผลิต Beta-CD เท่ากับ 0.29 มิลลิกรัมต่อลิตร.นาที.ยูนิตเอนไซม์ The overall aim of this research was to study influences of temperature time and attrition on physical properties of tapioca starch particles and beta-cyclodextrin initial synthesis rate by cyclodextrin glycosyltransferase (CGTase), from Bacillus circulans ATCC9995. The study consists of two main parts. The first part was to study influences of temperature (60 degree celcius - 80 degree celicus), time (0 - 24 Hrs.) and attrition on physical properties of tapioca starch such as swelling power, percentage of solubility, viscosity, and size of starch particles. The second part, consequently, was to study initial synthesis rate from starch obtained from different treatment processes. From the experiments, physical properties of starch particles after heat treatment process were obviously hanged after four hours incubation time. For 60 degree celcius incubation temperature, swelling power and starch solubility did not appear to change with incubation time after four hours, and were found to be 50% (at 4th hr) and 20% (at 24th hr), respectively, less than those treated at 65 degree celcius with the same incubation time. Increasing temperature to 65 degree, 70 degree, 75 degree and 80 degree celcius resulted in increasing initial starch viscosity to about 40 - 80 % for each 5 degree celcius increased considered at every incubation time. At incubation temperature higher than 65 degree celcius, starch particle sizes were found to decrease with increasing incubation time. For starch solution treated at 80 degree celcius, particle sizes were discovered to decrease with time until almost the same sizes as raw starch particles were achieved. This final particle sizes measured were believed to be obtained from particles that were strong enough hot to be broken down by thermal or mechanical energy added. Effect of incubation time was noticeable only when starch solution was treated at 65 degree celcius or higher. It was revealed that starch particles would swell up to around the maximum size of 43 after some incubation time. These particles were then broken up if further energy was given. Increasing in solubility and decreasing in viscosity were, therefore, resulted. Attrition of starch solution was possible only up to 60 degree celcius, this was because higher temperature could turn starch solution into gel. However, results showed that attrition together with heat treatment did not cause noticeable solubility change in comparison to heat treated solution (60 degree celcius) without attrition. On the other hand, swelling power, viscosity, and particle sizes were found to increase respectively, 55%, 95% and 25% incomparison to solution without attrition. Experimental results obtained in the second part demonstrated that starch physical properties played important roles in determining production rate. Starch solution which was heat treated until particles were broken were found to be suitable substrate for production. Suitable treatment conditions found were 75 degree celcius with 4 hr incubation time which resulted in solution viscosity of 900 cP, residual particle sized of 3, and 0.29 mg/1-min-unit enzyme production rate 2006-08-02T10:00:09Z 2006-08-02T10:00:09Z 2545 Thesis 9741710348 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1362 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 39091873 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย