การศึกษาผลกระทบของปริมาณน้ำในเซลลูโลสไนเตรตต่อคุณสมบัติของน้ำยาทาเล็บ ที่มีดินเหนียวเป็นสารปรับสภาพการไหล : รายงานวิจัยแบบสมบูรณ์
เนื้อเรื่องเป็นภาษาอังกฤษ
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | English |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13815 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | English |
id |
th-cuir.13815 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
English |
topic |
Nitrocellulose Adhesives Gums and resins Nail lacquer |
spellingShingle |
Nitrocellulose Adhesives Gums and resins Nail lacquer วิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุล การศึกษาผลกระทบของปริมาณน้ำในเซลลูโลสไนเตรตต่อคุณสมบัติของน้ำยาทาเล็บ ที่มีดินเหนียวเป็นสารปรับสภาพการไหล : รายงานวิจัยแบบสมบูรณ์ |
description |
เนื้อเรื่องเป็นภาษาอังกฤษ |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุล |
format |
Technical Report |
author |
วิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุล |
author_sort |
วิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุล |
title |
การศึกษาผลกระทบของปริมาณน้ำในเซลลูโลสไนเตรตต่อคุณสมบัติของน้ำยาทาเล็บ ที่มีดินเหนียวเป็นสารปรับสภาพการไหล : รายงานวิจัยแบบสมบูรณ์ |
title_short |
การศึกษาผลกระทบของปริมาณน้ำในเซลลูโลสไนเตรตต่อคุณสมบัติของน้ำยาทาเล็บ ที่มีดินเหนียวเป็นสารปรับสภาพการไหล : รายงานวิจัยแบบสมบูรณ์ |
title_full |
การศึกษาผลกระทบของปริมาณน้ำในเซลลูโลสไนเตรตต่อคุณสมบัติของน้ำยาทาเล็บ ที่มีดินเหนียวเป็นสารปรับสภาพการไหล : รายงานวิจัยแบบสมบูรณ์ |
title_fullStr |
การศึกษาผลกระทบของปริมาณน้ำในเซลลูโลสไนเตรตต่อคุณสมบัติของน้ำยาทาเล็บ ที่มีดินเหนียวเป็นสารปรับสภาพการไหล : รายงานวิจัยแบบสมบูรณ์ |
title_full_unstemmed |
การศึกษาผลกระทบของปริมาณน้ำในเซลลูโลสไนเตรตต่อคุณสมบัติของน้ำยาทาเล็บ ที่มีดินเหนียวเป็นสารปรับสภาพการไหล : รายงานวิจัยแบบสมบูรณ์ |
title_sort |
การศึกษาผลกระทบของปริมาณน้ำในเซลลูโลสไนเตรตต่อคุณสมบัติของน้ำยาทาเล็บ ที่มีดินเหนียวเป็นสารปรับสภาพการไหล : รายงานวิจัยแบบสมบูรณ์ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2010 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13815 |
_version_ |
1681412418162393088 |
spelling |
th-cuir.138152010-11-03T01:31:55Z การศึกษาผลกระทบของปริมาณน้ำในเซลลูโลสไนเตรตต่อคุณสมบัติของน้ำยาทาเล็บ ที่มีดินเหนียวเป็นสารปรับสภาพการไหล : รายงานวิจัยแบบสมบูรณ์ วิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ Nitrocellulose Adhesives Gums and resins Nail lacquer เนื้อเรื่องเป็นภาษาอังกฤษ Cellulose nitrate (CN) is a semi-synthetic polymer rendering outstanding film properties such as good transparency, and water resistance, thus finds its major utilization in coating industry. Raw CN has water and isopropyl alcohol by-product at maximum content of approximately 3 and 30 wt%, respectively. The tolerance water level in the CN powder for a potential application as nail polish is investigated in order to produce good film-forming properties. The effect of adding layered silicate clay particles as thixotropic agent in the nail enamel is also examined. The water content was varied at different weight percent i.e. 1, 2, 3, 4, 6, 8 and 10 wt%. It was found that the increase in water content affected the solution properties of CN by reducing its viscosity and drying time but it has no more effect to the dried films. According to poor adhesion of CN, adhesion promoter types were investigated for CN adhesion improvement. The suitable adhesion promoters are epoxy and maleic resin which is liquid and solid at room temperature, respectively. The compositions of maleicepoxy mixture were investigated by varying resin ratio 10:0, 8:2, 5:5, 2:8, and 0:10 wt%. At composition 5:5 provides relatively good durable film. Thixotropic suspension preparation was compared mechanical stirrer preparation at 650 r.p.m. for 4, 8, 14, 24, and 48 hr. with homogenizer at 6.5 x 10[superscript 3], 9.5 x 10[superscript 3], 13.5 x 10[superscript 3], 21.5 x 10[superscript 3], and 24 x 10[superscript 3] r.p.m. for 5 minutes. The suspension preparing by homogenizer furnishes higher viscosity and produces gel in short time, dried film also show fined texture which is higher gloss than motor stirrer preparation. Three kinds of organoclay using as suspension in toluene were dimethyl dioctadecyl ammonium hectorite, dimetyl benzyl dodecyl ammonium bentonite, and dimethyl dioctadecyl ammonium bentonite varying contents from 1-5 wt%. The suitable content is about 5 wt% where able to suspend pigment without hard packed settling. เซลลูโลสในเตรดเป็นฟิล์มพอลิเมอร์กึ่งสังเคราะห์ที่มีความโปร่งใสดีเยี่ยม สามารถต้านทานน้ำได้ดี ใช้แพร่หลายในอุตสาหกรรมเคลือบผิวเรซินที่ได้จากกระบวนการผลิต มีผลิตภัณฑ์ร่วมที่เป็นน้ำและไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์ไม่เกิน 3 และ 30 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักตามลำดับ ในงานวิจัยนี้ศึกษาหาปริมาณน้ำที่ยอมรับได้ในผงเซลลูโลสไนเตรดเพื่อประยุกต์ใช้ในงานน้ำยาทาเล็บ โดยศึกษาการเกิดฟิล์มที่มีคุณสมบัติที่ดีและผลกระทบของการเติมอนุภาคดินประเภทแผ่นซิลิเกตเป็นสารปรับสภาพการไหลในน้ำยาทาเล็บปริมาณน้ำในผงเซลลูโลสไนเตรดมีการปรับเปลี่ยนสัดส่วนตั้งแต่ 1, 2, 3, 4, 6, 8, และ 10 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก เมื่อศึกษาผลกระทบของน้ำที่มีผลต่อคุณภาพฟิล์มซึ่งพบว่า ปริมาณน้ำมีผลต่อความหนืดและระยะเวลาการแห้งตัว แต่จะไม่มีผลกระทบมากนักต่อฟิล์มแข็ง ตามที่เซลลูโลสไนเตรดมีความสามารถในการยึดเกาะต่ำ จึงต้องศึกษาเรซินชนิดอื่นเพื่อช่วยความสามารถในการยึดเกาะเซลลูโลสไนเตรด พบว่าเรซินที่เหมาะสมคือ อีพอกซีและมาเลอิกเรซินซึ่งเป็นของเหลวและของแข็งที่อุณหภูมิห้องตามลำดับ โดยจะปรับสัดส่วนระหว่างเรซินทั้งสอง 10:0, 8:2, 5:5, 2:8, และ 0:10 ซึ่งสัดส่วนที่ 5:5 ให้ฟิล์มที่ค่อนข้างติดทนดี การเตรียมสารปรับสภาพการไหลได้เปรียบเทียบการเตรียมแบบมอเตอร์สเตอร์เรอร์ที่ความเร็วรอบ 650 รอบต่อนาทีเป็นเวลา 4, 8, 14, 24, และ 48 ชั่วโมง การเตรียมแบบโฮโมจีไนเซอร์ที่ความเร็วรอบ 6.5 X 10[superscript 3], 9.5 X 10[superscript 3], 13.5 X 10[superscript 3], 21.5 X 10[superscript 3] และ 24 X 10[superscript 3] รอบต่อนาที พบว่าสารปรับสภาพการไหลที่เตรียมด้วยโฮโมจีไนเซอร์จะมีความหนืดสูงกว่าและมีสามารถเกิดเจลในเวลาอันสั้น ฟิล์มที่ได้มีความละเอียดเรียบและให้ค่าความมันวาวสูงกว่าการเตรียมแบบมอเตอร์สเตอร์เรอร์ ออร์แกโนเคลย์ที่ใช้เป็นสารแขวนลอยในโทลูอีนในงานวิจัยนี้มี 3 ชนิด คือ ไดเมทิลไดออกตะดีซิลแอมโมเนียมเฮคโตไรท์ ไดเมทิลเบนซิลโดดีซิลเฮคโตไรท์ และไดเมเทิลไดออกตะดีซิลแอมโมเนียมเบนโตไนท์ โดยจะปรับสัดส่วน 1, 3, 4, และ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก พบว่าที่สัดส่วน 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักสามารถแขวนลอยเม็ดสีได้โดยไม่ตกตะกอน ทุนสนับสนุนจากโครงการวิจัยร่วมภาครัฐ-เอกชน ประจำปีงบประมาณ 2547 2010-11-02T01:57:43Z 2010-11-02T01:57:43Z 2547 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13815 en จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6303637 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |