การประยุกต์ใช้กระบวนการนาโนฟิลเตรชันในการแยกสารไอโซฟลาโวน จากสารสกัดจากกากถั่วเหลือง
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1385 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.1385 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.13852008-01-28T10:50:01Z การประยุกต์ใช้กระบวนการนาโนฟิลเตรชันในการแยกสารไอโซฟลาโวน จากสารสกัดจากกากถั่วเหลือง Application of nanofiltration for the separation of isoflavone compounds from extract of soybean flake สิรินุช ก้องเสียง, 2519- เหมือนเดือน พิศาลพงศ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ ไอโซฟลาโวน การแยกด้วยเมมเบรน กากถั่วเหลือง นาโนฟิลเตรชัน วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 ถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง เป็นแหล่งสำคัญของสารที่เป็นประโยชน์หลายชนิด รวมทั้งไอโซฟลาโวน (ไดด์ซินและเจนิสติน) ฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างของโมเลกุลคล้ายกับฮอร์โมนเอสโตรเจน ทำให้มีความสามารถในการจับกับเอสโตรเจนรีเซพเตอร์ แต่มีความแรงของกิจกรรมน้อยกว่าเอสโตรเจน ปัจจุบันไอโซฟลาโวนได้รับความสนใจทางการแพทย์ และใช้เป็นส่วนผสมในอาหารเสริมสุขภาพ เนื่องจากมีรายงานถึงความเกี่ยวโยงของไอโซฟลาโวน ในการลดและป้องกันโรคของมนุษย์หลายชนิดรวมทั้งโรคมะเร็งหลายอย่าง วิทยานิพนธ์นี้ได้ศึกษาการประยุกต์ใช้กระบวนการไมโครฟิลเตรชัน และกระบวนการนาโนฟิลเตรชัน ในการแยกไอโซฟลาโวนจากสารสกัดของกากถั่วเหลืองและทำให้เข้มข้น สารปนเปื้อนขนาดโมเลกุลใหญ่กว่า 100,000 จะถูกกรองออกก่อนโดยใช้แท่งกรองไมโครฟิลเตรชัน ที่เป็นแท่งเซรามิกขนาดรูพรุน 0.2 ไมครอน พบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการกรองคือ ที่ความดันเท่ากับ 0.34เมกกะปาสคาลและความเร็วของสายป้อน 1.22x10 [ยกกำลัง -3] เมตรต่อวินาที โดยมีค่าการกักกันของโปรตีน ไดด์ซินและเจนิสตินของเยื่อแผ่นไมโครฟิลเตรชันเท่ากับ 0.49, 0.38 และ 0.65 ตามลำดับ ส่วนเพอมิเอทที่ได้จะถูกนำมาผ่านกระบวนการนาโนฟิลเตรชันโดยแผ่นเยื่อชนิด NF 7450 (MWCO~600-800) เพื่อทำให้เข้มข้น พบว่าสภาวะที่เหมาะสมของการกรอง โดยใช้กระบวนการนาโนฟิลเตรชันคือที่ความดัน 2.6 เมกกะปาสคาลและความเร็วของสายป้อน 1.51x10 [ยกกำลัง -2] เมตรต่อวินาที ค่าการกักกันไดด์ซิน เจนิสตินและแคลเซียมเท่ากับ 0.98, 0.99 และ 0.91 ตามลำดับ โดยส่วนคอนเซนเทรทที่ได้จากกระบวนการนาโนฟิลเตรชัน ประกอบด้วยไดด์ซินและเจนิสติน 0.57 และ 0.49 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ มีปริมาณ โปรตีน ราฟิโนส สตาชิโอส ฟรักโทส 10.45, 18.34, 19.48 และ 7.05 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตรและเกลือแร่ แคลเซียม โพแทสเซียม แมกนีเซียม โซเดียม 11.7, 23.7, 6.8 และ 0.13 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ Soybean and its processed products are a particularly source of useful components including phytohormone, isoflavones (daidzin and genistin). Isoflavones are structurally similar to estrogen, therefore they can bind with estrogen receptor but possess weak estrogen activity. Presently, interest in isoflavones for medical uses and as nutrition supplements increases according to the reports of their association with prevention and reduction of human diseases including various cancers. In this research study, microfiltration and nanofiltration were applied for the separation and concentration of isoflavones from soybean flake extract. By using ceramic microfiltration membrane with 0.2 microm. pore diameter, impurities with molecular weight (MWCO) more than 100,000 was prefiltrated. The optimum condition was at pressure of 0.34 MPa and velocity of 1.22x10 [-3] m/s. The retention of protein, daidzin and genistin are 0.49, 0.38 and 0.65 respectively. The permeate was then concentrated by nanafiltration membrane (NF 7450; MWCO~600-800). The optimum condition was at pressure of 2.6 MPa and velocity of 1.51x10 [-2] m/s . The retention of daidzin, genistin and calcium are 0.98, 0.99 and 0.91 respectively. The concentrate from nanofiltration consisted of 0.57 mg/ml daidzin, 0.49 mg/ml genistin, 10.45 mg/ml protein, 18.34 mg/ml raffinose, 19.48 mg/ml stachyose, 7.05 mg/ml fructose, 11.7 mg/ml calcium, 23.7 mg/ml potassium, 6.8 mg/ml magnesium and 0.13 mg/ml sodium. 2006-08-03T02:05:53Z 2006-08-03T02:05:53Z 2545 Thesis 9741716729 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1385 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2004783 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ไอโซฟลาโวน การแยกด้วยเมมเบรน กากถั่วเหลือง นาโนฟิลเตรชัน |
spellingShingle |
ไอโซฟลาโวน การแยกด้วยเมมเบรน กากถั่วเหลือง นาโนฟิลเตรชัน สิรินุช ก้องเสียง, 2519- การประยุกต์ใช้กระบวนการนาโนฟิลเตรชันในการแยกสารไอโซฟลาโวน จากสารสกัดจากกากถั่วเหลือง |
description |
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 |
author2 |
เหมือนเดือน พิศาลพงศ์ |
author_facet |
เหมือนเดือน พิศาลพงศ์ สิรินุช ก้องเสียง, 2519- |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สิรินุช ก้องเสียง, 2519- |
author_sort |
สิรินุช ก้องเสียง, 2519- |
title |
การประยุกต์ใช้กระบวนการนาโนฟิลเตรชันในการแยกสารไอโซฟลาโวน จากสารสกัดจากกากถั่วเหลือง |
title_short |
การประยุกต์ใช้กระบวนการนาโนฟิลเตรชันในการแยกสารไอโซฟลาโวน จากสารสกัดจากกากถั่วเหลือง |
title_full |
การประยุกต์ใช้กระบวนการนาโนฟิลเตรชันในการแยกสารไอโซฟลาโวน จากสารสกัดจากกากถั่วเหลือง |
title_fullStr |
การประยุกต์ใช้กระบวนการนาโนฟิลเตรชันในการแยกสารไอโซฟลาโวน จากสารสกัดจากกากถั่วเหลือง |
title_full_unstemmed |
การประยุกต์ใช้กระบวนการนาโนฟิลเตรชันในการแยกสารไอโซฟลาโวน จากสารสกัดจากกากถั่วเหลือง |
title_sort |
การประยุกต์ใช้กระบวนการนาโนฟิลเตรชันในการแยกสารไอโซฟลาโวน จากสารสกัดจากกากถั่วเหลือง |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2006 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1385 |
_version_ |
1681409399008002048 |