การพัฒนาการจัดการองค์ความรู้ในกระบวนการการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง : กรณีศึกษา : ส่วนประกันคุณภาพ สำนักบริหารวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ธนภรณ์ ลิ่มชูเชื้อ
Other Authors: ประเสริฐ อัครประถมพงศ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13897
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.13897
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ส่วนประกันคุณภาพ
การบริหารองค์ความรู้
การเปรียบเทียบจุดเด่น (การจัดการ)
การพัฒนาองค์การ
spellingShingle จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ส่วนประกันคุณภาพ
การบริหารองค์ความรู้
การเปรียบเทียบจุดเด่น (การจัดการ)
การพัฒนาองค์การ
ธนภรณ์ ลิ่มชูเชื้อ
การพัฒนาการจัดการองค์ความรู้ในกระบวนการการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง : กรณีศึกษา : ส่วนประกันคุณภาพ สำนักบริหารวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
author2 ประเสริฐ อัครประถมพงศ์
author_facet ประเสริฐ อัครประถมพงศ์
ธนภรณ์ ลิ่มชูเชื้อ
format Theses and Dissertations
author ธนภรณ์ ลิ่มชูเชื้อ
author_sort ธนภรณ์ ลิ่มชูเชื้อ
title การพัฒนาการจัดการองค์ความรู้ในกระบวนการการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง : กรณีศึกษา : ส่วนประกันคุณภาพ สำนักบริหารวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_short การพัฒนาการจัดการองค์ความรู้ในกระบวนการการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง : กรณีศึกษา : ส่วนประกันคุณภาพ สำนักบริหารวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_full การพัฒนาการจัดการองค์ความรู้ในกระบวนการการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง : กรณีศึกษา : ส่วนประกันคุณภาพ สำนักบริหารวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_fullStr การพัฒนาการจัดการองค์ความรู้ในกระบวนการการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง : กรณีศึกษา : ส่วนประกันคุณภาพ สำนักบริหารวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_full_unstemmed การพัฒนาการจัดการองค์ความรู้ในกระบวนการการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง : กรณีศึกษา : ส่วนประกันคุณภาพ สำนักบริหารวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_sort การพัฒนาการจัดการองค์ความรู้ในกระบวนการการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง : กรณีศึกษา : ส่วนประกันคุณภาพ สำนักบริหารวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13897
_version_ 1681411240550727680
spelling th-cuir.138972010-11-12T09:06:32Z การพัฒนาการจัดการองค์ความรู้ในกระบวนการการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง : กรณีศึกษา : ส่วนประกันคุณภาพ สำนักบริหารวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Development of knowledge management on continuous improvement process : a case study of Quality Assurance Division, Academic Affair, Chulalongkorn University ธนภรณ์ ลิ่มชูเชื้อ ประเสริฐ อัครประถมพงศ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ส่วนประกันคุณภาพ การบริหารองค์ความรู้ การเปรียบเทียบจุดเด่น (การจัดการ) การพัฒนาองค์การ วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 พัฒนาคู่มือสำหรับกระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นแนวปฏิบัติที่ดีสำหรับหน่วยงานต่างๆ ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเน้นที่พันธกิจหลักของมหาวิทยาลัยด้านการบริการและสนับสนุน รวมทั้งพัฒนาระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แนวปฏิบัติที่ดีดังกล่าว ในรูปแบบฐานความรู้แนวปฏิบัติที่ดีที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงในแง่ผลการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานที่นำคู่มือแนวทางปฏิบัติที่ดีที่พัฒนาขึ้นไปใช้ แนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลจัดทำโดยใช้แบบสอบถาม และเข้าไปสัมภาษณ์บุคลากรของหน่วยงานแบบอย่างที่ผ่านการคัดเลือก 17 กิจกรรม จาก 11 หน่วยงาน ซึ่งคัดเลือกแนวปฏิบัติที่ดีจากกิจกรรมทั้งสิ้น 173 กิจกรรม ของ 34 หน่วยงาน เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยหลักการ กำจัด รวม เปลี่ยน ทำให้ง่ายและวิเคราะห์กระบวนการทำงานด้วยแผนผังการดำเนินงาน และแผนผังการไหลของกระบวนการ จากนั้นคัดเลือก 16 กิจกรรม นำมาพัฒนาคู่มือแนวปฏิบัติที่ดี พบว่า บัณฑิตวิทยาลัย สามารถลดรอบระยะเวลาในกระบวนการจ่ายทุนผู้ช่วยสอนได้สูงสุด 99.61% สำหรับอีก 1 กิจกรรม ได้จัดทำเป็นบทเรียนเพื่อการเรียนรู้ ซึ่งทั้ง 16 กิจกรรมที่ผ่านการสัมภาษณ์และวิเคราะห์แล้ว ระยะเวลาที่ลดได้เฉลี่ย คือ 54.57% และจำนวนขั้นตอนที่ลดได้เฉลี่ย คือ 29.68% จากนั้นรวบรวมข้อมูล เพื่อจัดทำเป็นคู่มือแนวปฏิบัติที่ดี สำหรับกระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และเมื่อทำการสำรวจความคิดเห็นของบุคลากรภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พบว่าผู้ประเมินมีความพึงพอใจกับคู่มือแนวปฏิบัติที่ดีเฉลี่ย 4.06 คะแนน จาก 5 คะแนนแสดงว่ามีความพึงพอใจระดับมากถึงมากที่สุด นอกจากนี้ได้ประเมินความคิดเห็นของบุคลากรผู้เข้าใช้งาน ฐานความรู้บนเว็บไซต์ที่พัฒนาขึ้น ที่ชื่อ www.cu-gp.chula.ac.th ซึ่งบุคลากรเห็นด้วยกับเว็บไซต์ฐานความรู้ในระดับดี โดยจากการประเมินทั้ง 2 ส่วน สรุปได้ว่าแนวปฏิบัติที่ดีที่พัฒนาขึ้นนี้ มีความเข้าใจง่าย ชัดเจน มีประโยชน์ สร้างคุณค่า และนับได้ว่าฐานข้อมูลเหล่านี้สามารถใช้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการความรู้ ในหน่วยงานและมหาวิทยาลัยได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ผู้วิจัยได้พัฒนาแนวทางการจัดการความรู้สำหรับกระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งกระบวนการจัดการความรู้ ประกอบด้วย การแสวงหาความรู้ การสร้างความรู้ การเข้าถึงและนำความรู้ไปใช้ การจัดการเรียนรู้ให้เป็นระบบ และการแบ่งปันความรู้ สำหรับกระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องต้องมีการทบทวน เพิ่มเติมเพื่อให้ข้อมูลในฐานข้อมูลมีความทันสมัยอยู่เสมอ To develop a good practice manual in order to support continuous improvement process in Chulalongkorn University with regard to its organizations based on not only their missions but also various concepts of knowledge management including kaizen method. Moreover, we also develop website which everyone can easily access, study sample cases on, and use its information as guidance on their improvement activities. First, the methodology of this study was collecting 173-activity data from 34 departments in Chulalongkorn University. Then we chose only 17 activities as our case studies from 11 departments, and collected more information by personal interview in each chosen activity for our analysis by using ECRS and flow chart techniques. Consequently, we chose 16 activities as good practice samples. According to our analysis, we found that one of 16 chosen activities from graduate school had the highest cycle time reduction in TA payment process by decreasing 99.61% and only one of chosen activities was used for a lesson learned. In addition, average cycle time and average steps of works from 16 activities decreased 54.57% and 29.68%, respectively. To observe satisfactory level on our manual, we did surveys to related departments and found that average satisfactory level was quite high. Furthermore, all of good practices were collected in knowledge management database and published via www.cu-gp.ac.th channel. People who viewed this website mentioned that this website was easy to assess, and contained clear and valuable information. Moreover, they were not only satisfied on but also willing to recommend this website to others. In short, all studies of this thesis are following knowledge management framework, which consists of data collection information, knowledge creation, information assessment and knowledge implementation. For the continuous improvement process, we have to review and update the original database information and always add new good practices in the knowledge based. 2010-11-12T09:06:31Z 2010-11-12T09:06:31Z 2549 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13897 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7038982 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย