ตัวชี้วัดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมบนชายหาดของเกาะช้างจากกิจกรรมการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13927 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.13927 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การท่องเที่ยว -- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม -- ไทย -- ตราด เกาะช้าง (ตราด) -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว |
spellingShingle |
การท่องเที่ยว -- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม -- ไทย -- ตราด เกาะช้าง (ตราด) -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว มนทรัตม์ บูรณะหิรัญ ตัวชี้วัดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมบนชายหาดของเกาะช้างจากกิจกรรมการท่องเที่ยว |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 |
author2 |
ศุภิชัย ตั้งใจตรง |
author_facet |
ศุภิชัย ตั้งใจตรง มนทรัตม์ บูรณะหิรัญ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
มนทรัตม์ บูรณะหิรัญ |
author_sort |
มนทรัตม์ บูรณะหิรัญ |
title |
ตัวชี้วัดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมบนชายหาดของเกาะช้างจากกิจกรรมการท่องเที่ยว |
title_short |
ตัวชี้วัดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมบนชายหาดของเกาะช้างจากกิจกรรมการท่องเที่ยว |
title_full |
ตัวชี้วัดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมบนชายหาดของเกาะช้างจากกิจกรรมการท่องเที่ยว |
title_fullStr |
ตัวชี้วัดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมบนชายหาดของเกาะช้างจากกิจกรรมการท่องเที่ยว |
title_full_unstemmed |
ตัวชี้วัดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมบนชายหาดของเกาะช้างจากกิจกรรมการท่องเที่ยว |
title_sort |
ตัวชี้วัดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมบนชายหาดของเกาะช้างจากกิจกรรมการท่องเที่ยว |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2010 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13927 |
_version_ |
1681411999224823808 |
spelling |
th-cuir.139272010-11-18T08:23:12Z ตัวชี้วัดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมบนชายหาดของเกาะช้างจากกิจกรรมการท่องเที่ยว Indicators for environmental changes on beaches of Koh Chang by tourism activities มนทรัตม์ บูรณะหิรัญ ศุภิชัย ตั้งใจตรง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย การท่องเที่ยว -- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม -- ไทย -- ตราด เกาะช้าง (ตราด) -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบจากการท่องเที่ยวที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด โดยการคัดเลือกตัวชี้วัดที่แสดงการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นกับหาดทรายขาวและหาดบางเบ้า ในช่วงฤดูท่องเที่ยวและนอกฤดูท่องเที่ยว จากการศึกษาพบว่า แหล่งกำเนิดมลพิษของหาดทรายขาวส่วนใหญ่มาจากกิจกรรมท่องเที่ยว ได้แก่ สถานที่พักแรม สถานบริการด้านการท่องเที่ยว และกิจกรรมบนชายหาด ผลกระทบและผลกระทบสืบเนื่องที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการท่องเที่ยวบนชายหาดทั้งสอง ได้แก่ ขยะมูลฝอย มลภาวะทางน้ำและสิ่งปฏิกูล การรบกวนแนวสันทราย การรุกล้ำพื้นที่ชายหาด มลภาวะทางเสียง การกีดขวางทางน้ำ และการทำลายความงามทางทัศนียภาพ ในส่วนของการกำหนดตัวชี้วัด พิจารณาโดยการคัดเลือกจากผลกระทบที่เกิดขึ้น และทำการประเมินระดับคะแนนความรุนแรงของผลกระทบสืบเนื่อง จำนวนผลกระทบสืบเนื่อง และจำนวนกิจกรรมที่ก่อให้เกิดผลกระทบ ได้ผลดังนี้ ตัวชี้วัดด้านคุณภาพน้ำทะเล ประกอบด้วย แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม ของแข็งแขวนลอย และคุณภาพลักษณะของน้ำทะเลที่ได้จากการสังเกต ตัวชี้วัดด้านความสะอาดของชายหาด ประกอบด้วย ขยะตกค้างในน้ำทะเล ขยะตกค้างบนชายหาด คราบน้ำมันบนชายหาดและในน้ำทะเล และกลิ่นเหม็นของขยะหรือแหล่งน้ำเสีย ตัวชี้วัดด้านเสถียรภาพของชายหาด ประกอบด้วย การรบกวนแนวสันทราย การพังทลายของชายหาด และการกีดขวางทางน้ำ และตัวชี้วัดด้านการใช้ประโยชน์พื้นที่ชายหาด ประกอบด้วย การรุกล้ำพื้นที่ชายหาดแบบถาวร และการรุกล้ำพื้นที่ชายหาดแบบชั่วคราว ผลจากการนำตัวชี้วัดที่ผ่านการคัดเลือกไปใช้ในพื้นที่ศึกษา พบว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านการท่องเที่ยวและฤดูกาล ตัวชี้วัดด้านคุณภาพน้ำทะเลและเสถียรภาพของชายหาดในพื้นที่ศึกษาทั้งสองขึ้นอยู่กับอิทธิพลของฤดูกาลเป็นส่วนใหญ่ ในขณะที่ตัวชี้วัดด้านการใช้ประโยชน์พื้นที่ชายหาดขึ้นอยู่กับอิทธิพลจากการท่องเที่ยวเป็นส่วนใหญ่ ส่วนตัวชี้วัดด้านความสะอาดของหาดทรายขาวจะขึ้นกับการท่องเที่ยว แตกต่างจากหาดบางเบ้าที่ฤดูกาลเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความสะอาดของชายหาด The objective of this research is to analyze the impacts of tourism on beach environment. This analysis was performed by selection of indicators which reflect environmental changes on White Sand Beach and Bang Bao Beach. According to the study, most sources of pollution on White Sand Beach come from tourism activities such as resorts, restaurants and beachfront activities. Direct and indirect effects from tourism activities on both beaches consist of garbage, water pollution and waste, sand dune disturbance, beach intrusion, noise pollution, water obstruction and scenery destruction. The indicators were selected by the considerations of current effects. The evaluation of severities, numbers of consequence effect and numbers of activities that cause effect were performed. Selected indicators on sea water quality aspect consist of total coliform bacteria, fecal coliform bacteria, total solid suspended and observed sea water quality. Furthermore, the indicators on beach cleanness aspect are composed of garbage in sea water, garbage on beaches, oil stick on beaches and sea water, and foul smell from garbage or sources of refuse water. Besides, the indicators on beach stability aspect include sand dune disturbance, collapse of beaches and water obstruction. Finally, the indicators on beach area usage aspect comprise of permanent beach intrusion and temporary beach invasion. Applying the selected indicators in studied area illustrated that beach changes depend on tourism activities and season. Moreover, the indicators on sea water quality and beach stability depend on season whereas the indicators on beach area usage depend on tourism. Finally, the indicator on beach cleanness of White Sand Beach depends on tourism different from Bang Bao Beach that the beach cleanness depends on season. 2010-11-18T08:23:11Z 2010-11-18T08:23:11Z 2551 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13927 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7238883 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |