วัฒนธรรมการสร้างและคุณภาพเสียงของเครื่องดนตรีไทย ภาคเหนือ : ซึงกลางและกลองปูเจ่ : รายงานผลการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงวัฒนธรรมการสร้างและคุณภาพของเครื่องดนตรีไทย ภาคเหนือประเภทเครื่องดีด (ซึงกลาง) และกลองปูเจ่ โดยมีพื้นที่ศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง และน่าน ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการวิจัย พบว่า วิธีสร้างซึงกลาง ส่วนใหญ่มักใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่หาได้ในท...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14030
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.14030
record_format dspace
spelling th-cuir.140302010-12-08T09:28:00Z วัฒนธรรมการสร้างและคุณภาพเสียงของเครื่องดนตรีไทย ภาคเหนือ : ซึงกลางและกลองปูเจ่ : รายงานผลการวิจัย Construction methods and sound quality of Thai plucked instruments and drums within the Northern Region of Thailand ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ ซึง กลองปูเจ่ เสียงดนตรี เครื่องดนตรี -- ไทย (ภาคเหนือ) การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงวัฒนธรรมการสร้างและคุณภาพของเครื่องดนตรีไทย ภาคเหนือประเภทเครื่องดีด (ซึงกลาง) และกลองปูเจ่ โดยมีพื้นที่ศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง และน่าน ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการวิจัย พบว่า วิธีสร้างซึงกลาง ส่วนใหญ่มักใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่หาได้ในท้องถิ่น ส่วนโรงงานที่มีขนาดใหญ่ก็ใช้ เครื่องมือที่ทันสมัย โดยให้เหตุผลว่า ประหยัดเวลา งานรวดเร็ว และเพิ่มปริมาณได้มาก ทว่าในบรรดาช่างสร้างซึงกลาง ทั้ง ๑๓ ท่าน มีกรรมวิธีการผลิตที่ค่อนข้างแตกต่างออกไป โดยเฉพาะรูปแบบและขนาด ส่วนขั้นตอนการตกแต่งเสียงนั้น มีลักษณะใกล้เคียงกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญในการเทียบเสียง จากการศึกษาวิธีการสร้างกลองปูเจ่ พบว่า ช่างผู้สร้างกลองปูเจ่ทั้ง ๔ ท่าน ส่วนใหญ่มักใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่หาได้ในท้องถิ่น ส่วนน้อยใช้เครื่องมือที่ทันสมัย อาจมีบ้างในบางโรงงานใช้เครื่องมือในลักษณะผสมผสานระหว่างเครื่องมือที่หาได้ในท้องถิ่น และเครื่องมือที่ทันสมัย มักทำหุ่นกลองจากไม้และหนังหุ้มด้วยหนังวัว มีกรรมวิธีเป็นแบบภูมิปัญญาชาวบ้าน โดยมีลักษณะรูปแบบและขนาดใกล้เคียงกัน This research aims at the studies of making the Seung-Klang, a plucked instrument in northern Thailand, and Klong Puu-jae, a northern Thai drum. The research is conducted in Chiang Mai, Mae Hongson, Lampoon, Lampang and Naan. The Studies have found that, in the making process, local materials and local equipments are used whereas in the industrial production the more-advanced equipments are used. The use of more-advanced equipments results in the productivity which allows shorter production period and more amount of the product. Each of the 13 artists making the Sueng-Klang has different producing method causing the differences in forms and sizes, but in the audiology the artists apply the similar methods depending on one’s experience and expertise. For the Klong Puu-jae, the studies have found that the 4 artists mostly apply local materials and equipments; only in a few parts of the method they use more-advanced equipments. Some factories apply both local and more-advanced equipments. The drum body is made of wood with cow skin membranes in the similar forms and sizes according to the local wisdom. กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2010-12-08T09:28:00Z 2010-12-08T09:28:00Z 2553 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14030 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 21370223 bytes application/pdf application/pdf ไทย (ภาคเหนือ) คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ซึง
กลองปูเจ่
เสียงดนตรี
เครื่องดนตรี -- ไทย (ภาคเหนือ)
spellingShingle ซึง
กลองปูเจ่
เสียงดนตรี
เครื่องดนตรี -- ไทย (ภาคเหนือ)
ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน
วัฒนธรรมการสร้างและคุณภาพเสียงของเครื่องดนตรีไทย ภาคเหนือ : ซึงกลางและกลองปูเจ่ : รายงานผลการวิจัย
description การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงวัฒนธรรมการสร้างและคุณภาพของเครื่องดนตรีไทย ภาคเหนือประเภทเครื่องดีด (ซึงกลาง) และกลองปูเจ่ โดยมีพื้นที่ศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง และน่าน ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการวิจัย พบว่า วิธีสร้างซึงกลาง ส่วนใหญ่มักใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่หาได้ในท้องถิ่น ส่วนโรงงานที่มีขนาดใหญ่ก็ใช้ เครื่องมือที่ทันสมัย โดยให้เหตุผลว่า ประหยัดเวลา งานรวดเร็ว และเพิ่มปริมาณได้มาก ทว่าในบรรดาช่างสร้างซึงกลาง ทั้ง ๑๓ ท่าน มีกรรมวิธีการผลิตที่ค่อนข้างแตกต่างออกไป โดยเฉพาะรูปแบบและขนาด ส่วนขั้นตอนการตกแต่งเสียงนั้น มีลักษณะใกล้เคียงกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญในการเทียบเสียง จากการศึกษาวิธีการสร้างกลองปูเจ่ พบว่า ช่างผู้สร้างกลองปูเจ่ทั้ง ๔ ท่าน ส่วนใหญ่มักใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่หาได้ในท้องถิ่น ส่วนน้อยใช้เครื่องมือที่ทันสมัย อาจมีบ้างในบางโรงงานใช้เครื่องมือในลักษณะผสมผสานระหว่างเครื่องมือที่หาได้ในท้องถิ่น และเครื่องมือที่ทันสมัย มักทำหุ่นกลองจากไม้และหนังหุ้มด้วยหนังวัว มีกรรมวิธีเป็นแบบภูมิปัญญาชาวบ้าน โดยมีลักษณะรูปแบบและขนาดใกล้เคียงกัน
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์
ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน
format Technical Report
author ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน
author_sort ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน
title วัฒนธรรมการสร้างและคุณภาพเสียงของเครื่องดนตรีไทย ภาคเหนือ : ซึงกลางและกลองปูเจ่ : รายงานผลการวิจัย
title_short วัฒนธรรมการสร้างและคุณภาพเสียงของเครื่องดนตรีไทย ภาคเหนือ : ซึงกลางและกลองปูเจ่ : รายงานผลการวิจัย
title_full วัฒนธรรมการสร้างและคุณภาพเสียงของเครื่องดนตรีไทย ภาคเหนือ : ซึงกลางและกลองปูเจ่ : รายงานผลการวิจัย
title_fullStr วัฒนธรรมการสร้างและคุณภาพเสียงของเครื่องดนตรีไทย ภาคเหนือ : ซึงกลางและกลองปูเจ่ : รายงานผลการวิจัย
title_full_unstemmed วัฒนธรรมการสร้างและคุณภาพเสียงของเครื่องดนตรีไทย ภาคเหนือ : ซึงกลางและกลองปูเจ่ : รายงานผลการวิจัย
title_sort วัฒนธรรมการสร้างและคุณภาพเสียงของเครื่องดนตรีไทย ภาคเหนือ : ซึงกลางและกลองปูเจ่ : รายงานผลการวิจัย
publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14030
_version_ 1681410399591727104