โครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้านภายใต้ความร่วมมือระหว่าง ธนาคารอาคารสงเคราะห์กับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน

วิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ณรงค์ หาเรือนเงิน
Other Authors: สุปรีชา หิรัญโร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14165
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.14165
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ธนาคารอาคารสงเคราะห์
สมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน
สินเชื่อที่อยู่อาศัย
spellingShingle ธนาคารอาคารสงเคราะห์
สมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน
สินเชื่อที่อยู่อาศัย
ณรงค์ หาเรือนเงิน
โครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้านภายใต้ความร่วมมือระหว่าง ธนาคารอาคารสงเคราะห์กับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน
description วิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
author2 สุปรีชา หิรัญโร
author_facet สุปรีชา หิรัญโร
ณรงค์ หาเรือนเงิน
format Theses and Dissertations
author ณรงค์ หาเรือนเงิน
author_sort ณรงค์ หาเรือนเงิน
title โครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้านภายใต้ความร่วมมือระหว่าง ธนาคารอาคารสงเคราะห์กับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน
title_short โครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้านภายใต้ความร่วมมือระหว่าง ธนาคารอาคารสงเคราะห์กับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน
title_full โครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้านภายใต้ความร่วมมือระหว่าง ธนาคารอาคารสงเคราะห์กับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน
title_fullStr โครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้านภายใต้ความร่วมมือระหว่าง ธนาคารอาคารสงเคราะห์กับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน
title_full_unstemmed โครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้านภายใต้ความร่วมมือระหว่าง ธนาคารอาคารสงเคราะห์กับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน
title_sort โครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้านภายใต้ความร่วมมือระหว่าง ธนาคารอาคารสงเคราะห์กับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14165
_version_ 1681412346143047680
spelling th-cuir.141652010-12-17T08:31:21Z โครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้านภายใต้ความร่วมมือระหว่าง ธนาคารอาคารสงเคราะห์กับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน Housing loan project for home consturction under collaboration of Government Housing Bank and Home Builder Association ณรงค์ หาเรือนเงิน สุปรีชา หิรัญโร กิตติ พัฒนพงศ์พิบูล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน สินเชื่อที่อยู่อาศัย วิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 ติดตามการดำเนินงานของโครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้านภายใต้ความร่วมมือระหว่าง ธนาคารอาคารสงเคราะห์กับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ใน กทม. และปริมณฑล สาเหตุที่จำนวนการปล่อยสินเชื่อที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย และเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานของโครงการให้เป็นไปตามเป้าหมายของธนาคารฯ วิธีการวิจัย ใช้วิเคราะห์จากข้อมูลเอกสารของธนาคารฯ สอบถามกลุ่มตัวอย่างกลุ่มที่ไม่ได้ใช้โครงการนี้จำนวน 359 ราย และกลุ่มที่ใช้โครงการนี้ จำนวน 28 ราย โดยการโทรศัพท์และส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์กับกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่ม ซึ่งเป็นผู้ที่ใช้บริการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างของธนาคารฯ ที่ทำนิติกรรมจำนองแล้วตั้งแต่เดือนมกราคม 2548 ถึง เดือนธันวาคม 2549 ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ สัมภาษณ์กลุ่มบริษัทรับสร้างบ้านที่สร้างบ้านให้กับลูกค้าธนาคารฯตั้งแต่เดือนมกราคม 2548 ถึง เดือนธันวาคม 2549 จำนวน 9 ราย และสัมภาษณ์กลุ่มผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับโครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้าน ภายใต้ความร่วมมือระหว่างธนาคารอาคารสงเคราะห์กับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้านของธนาคารฯ 4 ฝ่ายงาน จำนวน 4 ราย ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) ขั้นตอนการให้สินเชื่อของโครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้าน ภายใต้ความร่วมมือระหว่างธนาคารฯกับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน ต่างจากโครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างแบบเดิมคือ 1.1 เรื่องของการประเมินราคาอาคารและราคาอาคารที่รับเป็นหลักประกัน 1.2 เรื่องของการจ่ายเงินงวด และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ในระหว่างการรับเงินงวดปลูกสร้าง 2) พบว่าสาเหตุผู้ใช้บริการโครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้านภายใต้ความร่วมมือระหว่าง ธนาคารฯกับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้านมีจำนวนน้อย การปล่อยสินเชื่อไม่เป็นไปตามเป้าหมายคือ 2.1 ผู้กู้ส่วนใหญ่ไม่ทราบมาก่อนว่าธนาคารฯมีโครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้าน ภายใต้ความร่วมมือระหว่างธนาคารฯกับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน ถึง 88.6% แต่หากทราบมาก่อนก็มีผู้ต้องการจะใช้บริการโครงการนี้ถึง 89.7% 2.2 ธนาคารฯ กับบริษัทรับสร้างบ้านที่เป็นสมาชิกสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน ยังมีการติดต่อประสานงานและร่วมมือกันน้อยมาก บริษัทรับสร้างบ้านไม่มีการแนะนำโฆษณาประชาสัมพันธ์ ให้ลูกค้าทราบถึงการมีบริการโครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้าน ภายใต้ความร่วมมือระหว่างธนาคารฯกับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน 2.3 การติดต่อขอสินเชื่อกับธนาคารฯ มีความยุ่งยากกว่าธนาคารพาณิชย์อื่น บริษัทรับสร้างบ้านจึงไม่แนะนำลูกค้าให้ใช้บริการสินเชื่อของธนาคารอาคารสงเคราะห์ ข้อเสนอแนะ แนวทางการปรับปรุงการดำเนินงานโครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้าน ภายใต้ความร่วมมือระหว่างธนาคารอาคารฯ กับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน มีดังนี้ 1. เสนอให้ธนาคารฯ เร่งทำการติดต่อขอร่วมมือกับบริษัทรับสร้างบ้านที่เป็นสมาชิกสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน ให้มีการประชาสัมพันธ์ตามช่องทางโฆษณาให้กับประชาชนทั่วไปได้ทราบ ถึงโครงการสินเชื่อเพื่อปลูกสร้างบ้านภายใต้ความร่วมมือระหว่างธนาคารอาคารสงเคราะห์กับสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ ให้มากขึ้นและเป็นไปอย่างต่อเนื่อง 2. เสนอให้ธนาคารฯจัดตั้งหน่วยงานที่เป็นผู้ประสานงานกับบริษัทรับสร้างบ้านโดยเฉพาะ เพื่ออำนวยความสะดวกและเป็นไปอย่างรวดเร็ว ในการติดต่อประสานงานการขอสินเชื่อให้กับลูกค้าของบริษัทรับสร้างบ้าน 3. การตั้งเป้าสินเชื่อของธนาคารฯที่ 2,500 ล้านบาทต่อปี นั้นเป็นการตั้งเป้าหมายที่สูงเกินไปควรมีการสำรวจตลาดก่อน To follow up the operation of housing loan projects for home construction in collaboration with the Government Housing Bank and the Home Builder’s Association and to suggest better ways for the bank to achieve its goals. The research was conducted by reviewing the bank’s documents, interviewing 359 subjects who did not participate in this project and 28 subjects who did participate in this project by telephoning them and mailing them a questionnaire. Both groups of subjects applied for a housing construction loan and mortgaged their collateral in Bangkok, Nontaburi, Patumtani and Samut Prakarn from January 2005 to December 2006. Nine house construction companies which built houses for the bank’s customers during the same period and four related administrators from four sections of the bank which are in charge of the project were also interviewed. The results are as follows: 1) The process of approving loans for this project was different from that of existing housing loans in terms of 1.1. the appraisal of the building and the building itself being used as collateral and 1.2. the number of installments to be paid and the interest rate during construction. 2) The number of borrowers participating in this project was smaller than expected because 2.1. 88.6% of the borrowers were not informed about this project and if they had been informed earlier, 89.7% of them would have applied for this loan. 2.2 The bank and the housing construction companies which are members of the Home Builder’s Association did not cooperate well. The companies did not promote this project to their customers. And 2.3. the procedure of applying for housing loans was more complicated than that of other commercial banks. As a result, the housing construction companies did not recommend this project to their customers. Suggestions for improving this project are as follows: 1. The bank should ask those housing construction companies to continually and actively inform the public about this project through available advertising channels. 2. The bank should set up a special unit to work jointly with the housing construction companies to facilitate the procedure of applying for housing loans. And 3. the loan target of 2,500 million baht a year is too high so the bank should survey the market first to find the appropriate level. 2010-12-17T08:31:20Z 2010-12-17T08:31:20Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14165 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1862179 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย