การพัฒนาละครแบบขนบนิยม : กรณีศึกษาจากงานละครชาวบ้าน

บทความวิจัยนี้ต้องการนำเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์งานศิลปะการละครแบบขนบนิยม โดยมุ่งนำเสนอแนวคิดของการพัฒนา ปรับเปลี่ยนสาระ รูปแบบ และวิธีการแสดงเพื่อให้งานศิลปะการละครนั้นคงอยู่อย่างมีชีวิต ดำรงไว้ซึ่งความหมายและความงามทางศิลปะ อันเป็นที่ยอมรับของผู้ชมร่วมสมัย ในบทความวิจัยนี้มุ่งเน้นไปที่ละครรำชาวบ้าน...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พรรัตน์ ดำรุง
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2010
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14177
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.14177
record_format dspace
spelling th-cuir.141772010-12-18T07:30:41Z การพัฒนาละครแบบขนบนิยม : กรณีศึกษาจากงานละครชาวบ้าน The modernization of traditional theatre : a case study in thai folk dance drama พรรัตน์ ดำรุง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ ละคร -- ไทย ละครรำ บทความวิจัยนี้ต้องการนำเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์งานศิลปะการละครแบบขนบนิยม โดยมุ่งนำเสนอแนวคิดของการพัฒนา ปรับเปลี่ยนสาระ รูปแบบ และวิธีการแสดงเพื่อให้งานศิลปะการละครนั้นคงอยู่อย่างมีชีวิต ดำรงไว้ซึ่งความหมายและความงามทางศิลปะ อันเป็นที่ยอมรับของผู้ชมร่วมสมัย ในบทความวิจัยนี้มุ่งเน้นไปที่ละครรำชาวบ้าน โดยจะยกเป็นตัวอย่างให้เห็นถึงวิธีการที่ศิลปินชาวบ้านจัดกระบวนการพัฒนาปรับงานของตนเพื่อให้สามารถคงอยู่รอดมาตลอด 2 ศตวรรษนี้ และอิทธิพลของละครรำชาวบ้านที่ยังคงครอบงำรสนิยมในการเสพมหรสพของคนไทย จึงสามารถมองเห็นได้ว่า สาระ ความสุกสนานอันเป็นหัวใจของมหรสพชาวบ้านนั้น ส่งต่อไปถึงงานละครร่วมสมัยได้แก่ ละครเวที และละครโทรทัศน์ This article suggests a new approach to preserving traditional theatre by focusing on a way to develop the message, form, and style of presentation in order for it to survive as it has been, while still ensuring that it remain meaningful and artful for today’s audiences. By using Lakorn Chaoban (Folk dance drama) as an example, the article explores how its ordinary artists developed their work in ways that permitted their art to survive for the last two centuries. Lakorn Chaoban (Folk dance drama) still influences the perceptions and expectations of audiences of popular Thai entertainment by helping us appreciate the message and to enjoy the performance. This is the heart of Thailand’s entertainment that remains part of contemporary performance in such areas as modern stage theatre and television soap operas. บทความนี้เป็นผลสรุปจากงานวิจัยรื่อง การแสดงพื้นบ้านภาคกลาง : การปรับปรนในชีวิตไทยสมัยใหม่ โดย สุกัญญา ภัทราชัย, พรรัตน์ ดำรุง และชัชวาล วงษ์ประเสริฐ เสนอต่อ สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ 2540 2010-12-18T07:30:40Z 2010-12-18T07:30:40Z 2544 Article วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 30,2(ก.ค.-ธ.ค. 2544),62-78 0125-4820 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14177 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1684111 bytes application/pdf application/pdf ไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ละคร -- ไทย
ละครรำ
spellingShingle ละคร -- ไทย
ละครรำ
พรรัตน์ ดำรุง
การพัฒนาละครแบบขนบนิยม : กรณีศึกษาจากงานละครชาวบ้าน
description บทความวิจัยนี้ต้องการนำเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์งานศิลปะการละครแบบขนบนิยม โดยมุ่งนำเสนอแนวคิดของการพัฒนา ปรับเปลี่ยนสาระ รูปแบบ และวิธีการแสดงเพื่อให้งานศิลปะการละครนั้นคงอยู่อย่างมีชีวิต ดำรงไว้ซึ่งความหมายและความงามทางศิลปะ อันเป็นที่ยอมรับของผู้ชมร่วมสมัย ในบทความวิจัยนี้มุ่งเน้นไปที่ละครรำชาวบ้าน โดยจะยกเป็นตัวอย่างให้เห็นถึงวิธีการที่ศิลปินชาวบ้านจัดกระบวนการพัฒนาปรับงานของตนเพื่อให้สามารถคงอยู่รอดมาตลอด 2 ศตวรรษนี้ และอิทธิพลของละครรำชาวบ้านที่ยังคงครอบงำรสนิยมในการเสพมหรสพของคนไทย จึงสามารถมองเห็นได้ว่า สาระ ความสุกสนานอันเป็นหัวใจของมหรสพชาวบ้านนั้น ส่งต่อไปถึงงานละครร่วมสมัยได้แก่ ละครเวที และละครโทรทัศน์
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
พรรัตน์ ดำรุง
format Article
author พรรัตน์ ดำรุง
author_sort พรรัตน์ ดำรุง
title การพัฒนาละครแบบขนบนิยม : กรณีศึกษาจากงานละครชาวบ้าน
title_short การพัฒนาละครแบบขนบนิยม : กรณีศึกษาจากงานละครชาวบ้าน
title_full การพัฒนาละครแบบขนบนิยม : กรณีศึกษาจากงานละครชาวบ้าน
title_fullStr การพัฒนาละครแบบขนบนิยม : กรณีศึกษาจากงานละครชาวบ้าน
title_full_unstemmed การพัฒนาละครแบบขนบนิยม : กรณีศึกษาจากงานละครชาวบ้าน
title_sort การพัฒนาละครแบบขนบนิยม : กรณีศึกษาจากงานละครชาวบ้าน
publisher คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2010
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14177
_version_ 1681413745265344512