ชีวสังเคราะห์สารหอม 2-Acetyl-1-pyrroline ในเตยหอม Pandanus amaryllifolius Roxb.และข้าวขาวดอกมะลิ 105 Oryza sativa L. variety Khao Dawk Mli 105 โดยกระบวนการเมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2011
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14347 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.14347 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
เตยหอม -- การวิเคราะห์ ข้าวขาวดอกมะลิ กรดอะมิโน -- การเผาผลาญ |
spellingShingle |
เตยหอม -- การวิเคราะห์ ข้าวขาวดอกมะลิ กรดอะมิโน -- การเผาผลาญ ศรัญญา ชัยจำรัส ชีวสังเคราะห์สารหอม 2-Acetyl-1-pyrroline ในเตยหอม Pandanus amaryllifolius Roxb.และข้าวขาวดอกมะลิ 105 Oryza sativa L. variety Khao Dawk Mli 105 โดยกระบวนการเมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 |
author2 |
วรรณา ตุลยธัญ |
author_facet |
วรรณา ตุลยธัญ ศรัญญา ชัยจำรัส |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ศรัญญา ชัยจำรัส |
author_sort |
ศรัญญา ชัยจำรัส |
title |
ชีวสังเคราะห์สารหอม 2-Acetyl-1-pyrroline ในเตยหอม Pandanus amaryllifolius Roxb.และข้าวขาวดอกมะลิ 105 Oryza sativa L. variety Khao Dawk Mli 105 โดยกระบวนการเมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน |
title_short |
ชีวสังเคราะห์สารหอม 2-Acetyl-1-pyrroline ในเตยหอม Pandanus amaryllifolius Roxb.และข้าวขาวดอกมะลิ 105 Oryza sativa L. variety Khao Dawk Mli 105 โดยกระบวนการเมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน |
title_full |
ชีวสังเคราะห์สารหอม 2-Acetyl-1-pyrroline ในเตยหอม Pandanus amaryllifolius Roxb.และข้าวขาวดอกมะลิ 105 Oryza sativa L. variety Khao Dawk Mli 105 โดยกระบวนการเมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน |
title_fullStr |
ชีวสังเคราะห์สารหอม 2-Acetyl-1-pyrroline ในเตยหอม Pandanus amaryllifolius Roxb.และข้าวขาวดอกมะลิ 105 Oryza sativa L. variety Khao Dawk Mli 105 โดยกระบวนการเมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน |
title_full_unstemmed |
ชีวสังเคราะห์สารหอม 2-Acetyl-1-pyrroline ในเตยหอม Pandanus amaryllifolius Roxb.และข้าวขาวดอกมะลิ 105 Oryza sativa L. variety Khao Dawk Mli 105 โดยกระบวนการเมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน |
title_sort |
ชีวสังเคราะห์สารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ในเตยหอม pandanus amaryllifolius roxb.และข้าวขาวดอกมะลิ 105 oryza sativa l. variety khao dawk mli 105 โดยกระบวนการเมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2011 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14347 |
_version_ |
1681413173910962176 |
spelling |
th-cuir.143472011-01-04T10:21:51Z ชีวสังเคราะห์สารหอม 2-Acetyl-1-pyrroline ในเตยหอม Pandanus amaryllifolius Roxb.และข้าวขาวดอกมะลิ 105 Oryza sativa L. variety Khao Dawk Mli 105 โดยกระบวนการเมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน 2-Acetyl-1-pyrroline biosynthesis of pandan Pandanus amaryllifolius Roxb. and rice Oryza sativa L. variety Khao Dawk Mli 105 through amino acid metabolism ศรัญญา ชัยจำรัส วรรณา ตุลยธัญ อนวัช สุวรรณกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ เตยหอม -- การวิเคราะห์ ข้าวขาวดอกมะลิ กรดอะมิโน -- การเผาผลาญ วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 การศึกษาหาสารตั้งต้นที่มาของไนโตรเจนอะตอมในโมเลกุลของสาร 2-Acetyl-1-pyrroline (2AP) ในเตยหอม เปรียบเทียบกับในข้าวขาวดอกมะลิ 105 โดยใช้ใบและแคลลัสของพืชทั้งสองชนิดเป็นตัวอย่าง ในการศึกษาชีวสังเคราะห์ 2AP ในงานวิจัยนี้ใช้สาร stable isotope คือ 15N-L-proline ร่วมกับเทคนิคการสกัดด้วยกรดและตัวทำละลายอินทรีย์ และตรวจวิเคราะห์สาร 2AP ด้วยเทคนิค GC-MS โดยแคลลัสข้าวขาวดอกมะลิ 105 จะถูกเลี้ยงในอาหารสูตร N6 ดัดแปลงโดยร่วมกับการเติม 2,4 D ความเข้มข้น 2 mg/l ซึ่งสามารถชักนำให้เกิดเอมบริโอจินิกแคลลัสได้ในปริมาณมาก แคลลัสที่ได้มีขนาดและน้ำหนักเฉลี่ยสูงซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) กับสูตร MS และ CC สำหรับเตยหอมการชักนำให้เกิดแคลลัสนั้นต้องชักนำให้เกิดยอดอ่อนในสภาพปลอดเชื้อ โดยใช้อาหารสูตร MS ที่ดัดแปลงโดยลดปริมาณ potassium nitrate ลงที่ความเข้มข้น 1.45 g/l ร่วมกับการเติม glutamic acid 100 mg/l, polyvinylpyrrolidine (PVP) 1 g/l และ benzylaminopurine (BAP) 0.5 mg/l แล้วจึงนำยอดอ่อนที่ได้มาเพาะเลี้ยงในอาหาร MS ดัดแปลงร่วมกับการเติม BAP 1mg/l, Kinetin 4 mg/l และ 2,4 D 0.1 mg/l เพื่อชักนำให้เกิดแคลลัสต่อไป แคลลัสและใบของเตยหอมและข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่แช่ในสารละลาย15N-L-proline เพื่อติดตามการสังเคราะห์ 2-acetyl-1-15N-pyrroline ซึ่งตรวจวิเคราะห์ด้วยเทคนิค GC-MS พบว่าสัดส่วนของ 2AP ที่ไม่ติดฉลาก (m/z 111) ต่อ 2AP ที่ติดฉลาก (m/z 112) ของแคลลัสและใบของเตยหอมและข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่แช่ในสารละลาย 15N-L-proline มีค่าเท่ากับ 0.944, 0.971, 0.922 และ 0.967 ตามลำดับ ในขณะที่แคลลัสและใบของเตยหอมและข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่แช่ในสารละลาย L-proline และน้ำกลั่น มีสัดส่วนของ 2AP ที่ไม่ติดฉลากต่อ 2AP ที่ติดฉลากมากกว่า 1 ในทุกตัวอย่าง จากผลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่ากระบวนการชีวสังเคราะห์ 2AP ในเตยหอมอาจมีวิถีสังเคราะห์เช่นเดียวกับที่พบในข้าวขาวดอกมะลิ 105 และที่มาของไนโตรเจนอะตอมในโมเลกุลของสาร 2AP ในเตยหอมมาจาก L-proline The precursor of nitrogen atom, originated in 2-Acetyl-1-pyrroline (2AP), was studied in leaves and callus of Pandanus amaryllifolius Roxb. and Oryza sativa L. var. Khao Dawk Mali 105. Tracer experiment with stable isotope, 15N-L-proline was employed and an extracted 2AP by acid solvent extraction was determined by GC-MS technique. Callus cultures of Khao Dawk Mali 105 rice were induced on N6 medium containing 2, 4-D at 2 mg/l. The result embryogenesis callus has significantly (p≤0.05) higher in an average size and weight than that obtained from MS or CC medium. Callus of Pandanus sp. was induced from aseptic shoot culturing on modified MS medium supplemented with 1.45 g/l potassium nitrate, 100 mg/l glutamic acid, 1 g/l polyvinylpyrrolidine (PVP) and 0.5 mg/l benzylaminopurine (BAP). Established shoots were then transferred to MS medium containing 1mg/l BAP, 4 mg/l kinetin and 0.1 mg/l 2,4 D for callus induction. Incubation of callus and leave of Pandanus sp. and Khao Dawk Mali 105 rice with 15N-L-proline resulted in a formation of 2-acetyl-1-15N-pyrroline as determined by GC-MS technique. The ratio for non-labeled 2-AP (m/z 111) to labeled 2-AP (m/z 112) of both callus and leaves of Pandanus sp. and Khao Dawk Mali 105 rice incubated with 15N-L-proline were 0.944, 0.971, 0.922 and 0.967, respectively. Whereas both callus and leave of Pandanus sp. and Khao Dawk Mali 105 rice incubated with non-labeled L-proline or distilled water resulted in a ratio for non-labeled to labeled 2-AP higher than 1.The results suggested that the biosynthesis of 2AP in Pandanus sp. may share a common pathway with Khao Dawk Mali 105 rice and the nitrogen source of 2-acetyl-1-pyrroline was derived from L-proline. 2011-01-04T10:21:50Z 2011-01-04T10:21:50Z 2551 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14347 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1930926 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |