การปรับปรุงกระบวนการทดสอบตัวรับส่งสัญญาณทางแสงในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อรวรรณ พิทักษ์เกียรติกุล
Other Authors: ดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2011
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14357
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.14357
record_format dspace
spelling th-cuir.143572011-01-05T04:37:27Z การปรับปรุงกระบวนการทดสอบตัวรับส่งสัญญาณทางแสงในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ Improvement of optical transceiver testing process in electronics industry อรวรรณ พิทักษ์เกียรติกุล ดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ) วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการปรับปรุงกระบวนการทดสอบตัวรับส่งสัญญาณทางแสงในการป้องกันการเกิดฝุ่นและรอยขีดข่วนบนหน้าเลนส์ โดยใช้หลักการซิกซ์ ซิกม่า ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนคือ การนิยามปัญหา (Define Phase), การวัดเพื่อกำหนดสาเหตุของปัญหา (Measure Phase), การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (Analysis Phase), การปรับปรุงแก้ไขกระบวนการ (Improve Phase) และการควบคุมกระบวนการทดสอบ (Control Phase) จากการศึกษากระบวนการทดสอบ ปัญหาที่พบคือ ผลิตภาพการผลิตจากกระบวนการทดสอบ 3 models หลักมีค่าต่ำ โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 88.9% คิดเป็นมูลค่าของของเสียเฉลี่ย 14,000 เหรียญสหรัฐต่อเดือน จึงได้ทำการเลือกผลิตภัณฑ์ที่จะนำมาศึกษาโดยเลือก 1 ใน 3 models หลัก และคัดเลือกตัวแปรที่จะนำมาศึกษาโดยการใช้เทคนิคลักษณะบกพร่องและผลกระทบ (FMEA) และเทคนิคการวิเคราะห์ปัญหาจากสาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram) จะได้ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทดสอบล้มเหลว คือการเกิดฝุ่นและรอยขีดข่วนบนหน้าเลนส์ ซึ่งมีสาเหตุเกิดจากวิธีการทำความสะอาดสายไฟเบอร์และฝุ่นจากที่พักสายไฟเบอร์ (LC holder) ผลจากการปรับปรุงกระบวนการทดสอบพบว่า ผลิตภาพการผลิตจากกระบวนการทดสอบของผลิตภัณฑ์ที่เลือกนำมาศึกษามีค่าเพิ่มขึ้นจาก 84.49% เป็น 92.82% คิดเป็นมูลค่าของของเสียที่ลดลงจากเฉลี่ย 676.04 เหรียญสหรัฐต่อ 100 ชิ้น เหลือประมาณ 312.96 เหรียญสหรัฐต่อ 100 ชิ้น หรือลดมูลค่าของของเสียได้ 53.71% The objective of this research is to improve testing process of optical transceiver in order to prevent dust and scratch on lens by applying six sigma approaches consisting of 5 phases - Define phase, Measure phase, Analysis phase, Improve phase and Control phase. Based on the result of studying, it was founded 3 main models have shown the low yield - average about 88.9%. There is equal to the cost of defects around 14,000 $ per month. In this regard, one has been selected from 3 main models to study. Importantly, the methodologies to screen factors comprise Failure Mode and Effect Analysis, Cause and Effect Diagram techniques and Reliability Theory. Accordingly, the factors which affect significantly to the testing process are both dust and scratch on lens occurred from fiber cleaning method and dust from LC holder. Yield of testing process after implementation have been improved significantly from 84.49% to 92.82%, which is equivalence to the cost of defect reducing from 676.04$ to 312.96$ per 100 units, approximately cost of defect saving 53.71%. 2011-01-05T04:37:26Z 2011-01-05T04:37:26Z 2551 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14357 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2406590 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
ซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ)
spellingShingle อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
ซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ)
อรวรรณ พิทักษ์เกียรติกุล
การปรับปรุงกระบวนการทดสอบตัวรับส่งสัญญาณทางแสงในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
author2 ดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย
author_facet ดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย
อรวรรณ พิทักษ์เกียรติกุล
format Theses and Dissertations
author อรวรรณ พิทักษ์เกียรติกุล
author_sort อรวรรณ พิทักษ์เกียรติกุล
title การปรับปรุงกระบวนการทดสอบตัวรับส่งสัญญาณทางแสงในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
title_short การปรับปรุงกระบวนการทดสอบตัวรับส่งสัญญาณทางแสงในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
title_full การปรับปรุงกระบวนการทดสอบตัวรับส่งสัญญาณทางแสงในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
title_fullStr การปรับปรุงกระบวนการทดสอบตัวรับส่งสัญญาณทางแสงในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
title_full_unstemmed การปรับปรุงกระบวนการทดสอบตัวรับส่งสัญญาณทางแสงในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
title_sort การปรับปรุงกระบวนการทดสอบตัวรับส่งสัญญาณทางแสงในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2011
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14357
_version_ 1681412451831119872