ลักษณะสมบัติของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมนต์ธรรมดา กับที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมต์ที่ผสมยางธรรมชาติเป็นสารผสมเพิ่ม

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นราชัย ตันติวรวิทย์, 2521-
Other Authors: ดิเรก ลาวัณย์ศิริ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1443
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.1443
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic แอสฟัลต์ซีเมนต์
น้ำยาง
แอสฟัลต์คอนกรีต
spellingShingle แอสฟัลต์ซีเมนต์
น้ำยาง
แอสฟัลต์คอนกรีต
นราชัย ตันติวรวิทย์, 2521-
ลักษณะสมบัติของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมนต์ธรรมดา กับที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมต์ที่ผสมยางธรรมชาติเป็นสารผสมเพิ่ม
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
author2 ดิเรก ลาวัณย์ศิริ
author_facet ดิเรก ลาวัณย์ศิริ
นราชัย ตันติวรวิทย์, 2521-
format Theses and Dissertations
author นราชัย ตันติวรวิทย์, 2521-
author_sort นราชัย ตันติวรวิทย์, 2521-
title ลักษณะสมบัติของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมนต์ธรรมดา กับที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมต์ที่ผสมยางธรรมชาติเป็นสารผสมเพิ่ม
title_short ลักษณะสมบัติของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมนต์ธรรมดา กับที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมต์ที่ผสมยางธรรมชาติเป็นสารผสมเพิ่ม
title_full ลักษณะสมบัติของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมนต์ธรรมดา กับที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมต์ที่ผสมยางธรรมชาติเป็นสารผสมเพิ่ม
title_fullStr ลักษณะสมบัติของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมนต์ธรรมดา กับที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมต์ที่ผสมยางธรรมชาติเป็นสารผสมเพิ่ม
title_full_unstemmed ลักษณะสมบัติของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมนต์ธรรมดา กับที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมต์ที่ผสมยางธรรมชาติเป็นสารผสมเพิ่ม
title_sort ลักษณะสมบัติของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมนต์ธรรมดา กับที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมต์ที่ผสมยางธรรมชาติเป็นสารผสมเพิ่ม
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1443
_version_ 1681413948529704960
spelling th-cuir.14432007-12-25T03:44:40Z ลักษณะสมบัติของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมนต์ธรรมดา กับที่ใช้วัสดุแอสฟัลต์ซีเมต์ที่ผสมยางธรรมชาติเป็นสารผสมเพิ่ม Properties of asphalt concrete mixtures with and without natural rubber as additives นราชัย ตันติวรวิทย์, 2521- ดิเรก ลาวัณย์ศิริ ชยธันว์ พรหมศร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ แอสฟัลต์ซีเมนต์ น้ำยาง แอสฟัลต์คอนกรีต วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางวิศวกรรมของวัสดุแอสฟัลต์ซีเมนต์และส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ผสมยางธรรมชาติหรือยางพาราในลักษณะของน้ำยางข้นเป็นสารผสมเพิ่ม รวมทั้งศึกษาหาปริมาณสัดส่วนที่เหมาะสมของน้ำยางข้นในการผสมกับแอสฟัลต์ซีเมนต์ ในการศึกษานี้ได้ใช้วัสดุเชื่อมประสาน 3 ชนิด ได้แก่ แอสฟัลต์ซีเมนต์ธรรมดาชนิดเกรด 60-70 วัสดุ Natural Rubber Asphalt (NRA) ที่ได้จากการนำแอสฟัลต์ซีเมนต์ธรรมดาชนิดเกรด 60-70 ผสมกับน้ำยางข้นชนิดแอมโมเนียสูง (High Ammonia : HA) ในปริมาณ 1-14% โดยน้ำหนักรวม และวัสดุ Polymer Modified Asphalt (PMA) จากนั้นนำวัสดุเชื่อมประสานแต่ละชนิดไปผสมกับวัสดุมวลรวมประเภทหินปูนเป็นส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต เพื่อนำไปทดสอบคุณสมบัติพื้นฐานต่าง ๆ รวมทั้งประสิทธิภาพในการใช้งาน เช่น แรงดึงทางอ้อม โมดูลัสคืนตัว ความล้า การยุบตัวถาวร และการหลุดลอก จากผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่า วัสดุ NRA มีคุณสมบัติทางวิศวกรรมดีกว่าแอสฟัลต์ซีเมนต์ธรรมดา โดยวัสดุ NRA สามารถช่วยเพิ่มค่าเสถียรภาพ ค่าแรงดึงทางอ้อม ค่าโมดูลัสคืนตัวที่อุณหภูมิสูง และลดการหลุดลอก ซึ่งเมื่อพิจารณาจากคุณสมบัติการต้านทานต่อความล้าและต้านการยุบตัวถาวรของแอสฟัลต์คอนกรีตที่ดีขึ้นกว่า 3 เท่าแล้ว ทำให้สรุปได้จากการศึกษานี้ว่าปริมาณน้ำยางข้นที่เหมาะสมในการผสมกับแอสฟัลต์ซีเมนต์คือ 9% โดยน้ำหนักรวม แต่เมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุ PMA แล้ว วัสดุ PMA ยังคงแสดงคุณสมบัติที่ดีกว่าวัสดุ NRA อย่างไรก็ตาม การใช้ยางธรรมชาติซึ่งเป็นทรัพยากรภายในประเทศเป็นสารผสมเพิ่มเพื่อใช้ในงานทางก็ยังมีความเหมาะสมอยู่ เนื่องจากยางธรรมชาติสามารถช่วยปรับปรุงให้ผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีตมีความยืดหยุ่นและมีความแข็งแรงเพิ่มมากขึ้น ทำให้อายุการใช้งานนานขึ้น อีกทั้งยังใช้ปริมาณในการผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่น้อยกว่า ทำให้ช่วยลดต้นทุนในการก่อสร้างและการบำรุงรักษาผิวทางได้ในระยะยาว This research is to study the engineering properties of asphalt cement and its mixture with additives such as natural rubber or para rubber in form of concentrated latex. It also emphasizes on determining the appropriate proportion of concentrated latex to be used in the mixing process. In this study, three types of binder were separately mixed with limestone to make each mixture of asphalt concrete. They are conventional asphalt cement of 6070 penetration grade (AC 60-70), Natural Rubber Asphalt (NRA) obtained from mixing AC 6070 with High Ammonia (HA) concentrated latex at the content of 1-14% by total weight and Polymer Modified Asphalt (PMA). Basic properties and performance tests of the asphalt concrete mixture were then conducted to study such as indirect tensile strength, resilient modulus, fatigue, permanent deformation and stripping. The results showed that NRA materials gave better performance than conventional asphalt cement in term of engineering properties. In making the mixture of asphalt concrete, less content of NRA was required, leading to a lower road construction cost. In addition, NRA materials also contribute to the increased value of stability, indirect tensile strength, resilient modulus at high temperature, and to the reduced rate of stripping. Moreover, NRA materials also enhance the mixture properties on resisting to fatigue cracking and permanent deformation 3 times better than conventional asphalt cement. However, compared to the properties of PMA materials, NRA is still less favorable. It can be concluded from this study that the use of natural rubber as additives is the best alternative due to its domestic availability and to the fact that less content of NRA materials would be required in making the mixture of asphalt concrete. Natural rubber offers enhanced flexibility and stability of asphalt pavement, bringing greater life expectancy at lower maintenance cost. The suggested proportion of concentrated latex in blending with asphalt cement is 9% by total weight. 2006-08-04T03:56:57Z 2006-08-04T03:56:57Z 2546 Thesis 9741735561 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1443 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 33651464 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย