อัตราการลงเกาะ การเติบโต และการอยู่รอดของปะการัง Pocillopora damicornis, Acropora humilis และ Acropora millepora เมื่อกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศิริวรรณ อัศวอัจฉริยะกุล
Other Authors: สุชนา ชวนิชย์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2011
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14554
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.14554
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ปะการัง -- การอนุรักษ์และฟื้นฟู
spellingShingle ปะการัง -- การอนุรักษ์และฟื้นฟู
ศิริวรรณ อัศวอัจฉริยะกุล
อัตราการลงเกาะ การเติบโต และการอยู่รอดของปะการัง Pocillopora damicornis, Acropora humilis และ Acropora millepora เมื่อกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
author2 สุชนา ชวนิชย์
author_facet สุชนา ชวนิชย์
ศิริวรรณ อัศวอัจฉริยะกุล
format Theses and Dissertations
author ศิริวรรณ อัศวอัจฉริยะกุล
author_sort ศิริวรรณ อัศวอัจฉริยะกุล
title อัตราการลงเกาะ การเติบโต และการอยู่รอดของปะการัง Pocillopora damicornis, Acropora humilis และ Acropora millepora เมื่อกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า
title_short อัตราการลงเกาะ การเติบโต และการอยู่รอดของปะการัง Pocillopora damicornis, Acropora humilis และ Acropora millepora เมื่อกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า
title_full อัตราการลงเกาะ การเติบโต และการอยู่รอดของปะการัง Pocillopora damicornis, Acropora humilis และ Acropora millepora เมื่อกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า
title_fullStr อัตราการลงเกาะ การเติบโต และการอยู่รอดของปะการัง Pocillopora damicornis, Acropora humilis และ Acropora millepora เมื่อกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า
title_full_unstemmed อัตราการลงเกาะ การเติบโต และการอยู่รอดของปะการัง Pocillopora damicornis, Acropora humilis และ Acropora millepora เมื่อกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า
title_sort อัตราการลงเกาะ การเติบโต และการอยู่รอดของปะการัง pocillopora damicornis, acropora humilis และ acropora millepora เมื่อกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2011
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14554
_version_ 1681409699929391104
spelling th-cuir.145542011-01-24T07:30:55Z อัตราการลงเกาะ การเติบโต และการอยู่รอดของปะการัง Pocillopora damicornis, Acropora humilis และ Acropora millepora เมื่อกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า Settlement, growth and survival rates of Pocillopora damicornis, Acropora humilis and Acropora millepora under electrically stimulated condition ศิริวรรณ อัศวอัจฉริยะกุล สุชนา ชวนิชย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย ปะการัง -- การอนุรักษ์และฟื้นฟู วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 การนำกระแสไฟฟ้ามาประยุกต์ใช้ในการฟื้นฟูแนวปะการังเป็นวิธีการหนึ่งในการเพิ่มอัตราการเติบโตและอัตรารอดของปะการัง จากการเกิดปฏิกิริยาทางไฟฟ้าเคมีที่ได้รับการกระตุ้นจากกระแสไฟฟ้าทำให้เกิดสภาวะแวดล้อมที่ช่วยให้ปะการังสามารถลดการใช้พลังงานในการกระบวนการสร้างหินปูนและนำพลังงานนั้นไปใช้ในการเติบโต ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงทำการศึกษาอัตราการลงเกาะ การเติบโต และการอยู่รอดของตัวอ่อนปะการัง Pocillopora damicornis, Acropora humilis และ Acropora millepora ที่ได้รับและไม่ได้รับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า ทั้งในระบบอนุบาลและในพื้นที่ธรรมชาติ ผลการศึกษาอัตราการลงเกาะบนพื้นผิวพบว่า ตัวอ่อนปะการัง P. damicornis และ A. humilis ที่ได้รับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้ามีอัตราการลงเกาะค่อนข้างต่ำ โดยตัวอ่อนปะการัง P. damicornis ในชุดควบคุมมีอัตราการลงเกาะบนแผ่นเหล็กเคลือบหินปูนและแผ่นกระเบื้องที่สูงกว่าชุดการทดลองที่ได้รับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าอย่างมีนัยสำคัญ ขณะที่ตัวอ่อนปะการัง A. humilis ในชุดควบคุม (แผ่นเหล็กเคลือบหินปูน) และชุดการทดลองที่ไม่ได้รับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า (แผ่นเหล็กเคลือบหินปูนและแผ่นกระเบื้อง) มีอัตราการลงเกาะบนพื้นผิวสูงกว่าในชุดการทดลองที่ได้รับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าอย่างมีนัยสำคัญเช่นกัน สำหรับการศึกษาอัตราการเติบโตและอัตรารอดระยะหลังการลงเกาะของตัวอ่อนปะการัง A. humilis ในระบบอนุบาล และ P. damicornis บนโครงสร้างที่ได้รับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าในทะเล พบว่า ตัวอ่อนปะการัง A. humilis ระยะหลังการลงเกาะบนแผ่นอลูมิเนียมในระบบอนุบาล มีอัตราการเติบโต (198.1± 19.5 %) และอัตรารอด (61.7 ± 6.4 %) สูงสุด โดยอัตราการเติบโต (เปอร์เซ็นต์ความกว้างสูงสุดต่อเดือน) สูงกว่าตัวอ่อนปะการังที่อนุบาลบนแผ่นเหล็กเคลือบหินปูนและแผ่นกระเบื้อง และอัตรารอดสูงกว่าตัวอ่อนปะการังที่อนุบาลบนแผ่นกระเบื้องอย่างมีนัยสำคัญ ขณะที่ตัวอ่อนปะการัง P. damicornis ระยะหลังการลงเกาะบนโครงสร้างที่ได้รับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าในระดับที่แตกต่างกันทั้ง 3 ระดับ มีอัตราการเติบโตไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม อัตราการเติบโตสูงสุด (36.5 ± 6 %/เดือน) และอัตรารอดสูงสุด (50 %) พบที่ตัวอ่อนปะการังบนโครงสร้างที่ได้รับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าระดับสูงและระดับต่ำ ตามลำดับ นอกจากนั้น ในการศึกษาเปรียบเทียบอัตราการเติบโตและอัตรารอดระยะหลังการลงเกาะของตัวอ่อนปะการัง A. millepora ระหว่างระบบอนุบาลกับโครงสร้างที่ได้รับและไม่ได้รับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า พบว่า อัตราการเติบโตของตัวอ่อนปะการัง A. millepora บนแผ่นเหล็กเคลือบหินปูนและแผ่นกระเบื้องของชุดโครงสร้างที่ได้รับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าระดับกลางมีค่าสูง (87.8 – 90.2 %) และแตกต่างกับชุดการทดลองในระบบอนุบาลซึ่งมีค่าต่ำ (45.1 – 4 7.4 %) อย่างมีนัยสำคัญ ทั้งนี้ อัตราการเติบโตและอัตรารอดของตัวอ่อนปะการังในชุดโครงสร้างที่ได้รับและไม่ได้รับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ยกเว้น อัตราการเติบโตของตัวอ่อนปะการังบนแผ่นเหล็กเคลือบหินปูนบนชุดโครงสร้างที่ได้รับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าระดับกลางที่สูงกว่าชุดโครงสร้างที่ไม่ได้รับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าอย่างมีนัยสำคัญ อนึ่ง อัตรารอดของตัวอ่อนปะการังบนแผ่นกระเบื้องในระบบอนุบาลมีอัตรารอดสูงสุด (64.1 ± 3.3 %) ซึ่งมีความแตกต่างกับตัวอ่อนปะการังบนแผ่นกระเบื้องชุดโครงสร้างที่ได้รับกระแสไฟฟ้าระดับสูงที่มีอัตรารอดต่ำสุด (3.55 ± 2.27 %) อย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) Mineral accretion generated by electric current recently is used as a method for accelerating coral growth and survival. This technique allows calcification limestone and accumulate on substrates and may help corals in reducing energy for coral calcification. In this study we investigated whether there were differences on recruitment, growth, and survival of juvenile corals of Pocillopora damicornis, Acropora humilis and Acropora millepora. between substrates that had mineral accretion and substrates that did not have. Both field and laboratory experiments were conducted. The results from the experiment on the settlement rate of juvenile corals stimulated by electric current showed that there was a significant difference on the settlement of juvenile corals between 3 different types of plates (steel plate, steel plate encrusted with limestone, and tile with coralline algae). The control and the tile with coralline algae had the highest number of settling larvae of P. damicornis. However, in A. humilis, the highest number of settling larvae occurred in the experimental set without electric current, and there was no significant difference on the number of settling larvae between different plates. In addition, there were significant differences on growth and survival rates of juvenile A. humilis in the rearing system. The highest length per month and the highest survival rate were found on the aluminum plate (198.1 ± 19.5% and 61.7 ± 11.79% respectively). In the field, the results showed that there was no difference on the growth rate of P. damicornis between different levels of electric currents on the biorock structures, while the highest survival rate was on the structure with low current level. However, when comparing the growth and survival rates of juvenile A. millepora on different levels of electric current, there was a significant difference between different levels of currents on the biorock structures and in the hatchery. The highest growth of juvenile corals was on the structure with medium level with the steel encrusted with limestone and tile plates (87.8 - 90.2%), and the highest survival rate was on the tile plates in the hatchery (64.1 ± 3.3%). 2011-01-24T07:30:55Z 2011-01-24T07:30:55Z 2551 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14554 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1782938 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย