ความชุกของภาวะซึมเศร้า ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก คลินิกต่อมไร้ท่อ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2011
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14730 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.14730 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
เบาหวาน -- ผู้ป่วย น้ำตาลในเลือด ความซึมเศร้า |
spellingShingle |
เบาหวาน -- ผู้ป่วย น้ำตาลในเลือด ความซึมเศร้า ธิติพันธ์ ธานีรัตน์ ความชุกของภาวะซึมเศร้า ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก คลินิกต่อมไร้ท่อ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 |
author2 |
สุขเจริญ ตั้งวงษ์ไชย |
author_facet |
สุขเจริญ ตั้งวงษ์ไชย ธิติพันธ์ ธานีรัตน์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ธิติพันธ์ ธานีรัตน์ |
author_sort |
ธิติพันธ์ ธานีรัตน์ |
title |
ความชุกของภาวะซึมเศร้า ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก คลินิกต่อมไร้ท่อ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
title_short |
ความชุกของภาวะซึมเศร้า ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก คลินิกต่อมไร้ท่อ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
title_full |
ความชุกของภาวะซึมเศร้า ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก คลินิกต่อมไร้ท่อ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
title_fullStr |
ความชุกของภาวะซึมเศร้า ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก คลินิกต่อมไร้ท่อ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
title_full_unstemmed |
ความชุกของภาวะซึมเศร้า ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก คลินิกต่อมไร้ท่อ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
title_sort |
ความชุกของภาวะซึมเศร้า ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก คลินิกต่อมไร้ท่อ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2011 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14730 |
_version_ |
1681409930830020608 |
spelling |
th-cuir.147302011-03-05T06:13:40Z ความชุกของภาวะซึมเศร้า ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก คลินิกต่อมไร้ท่อ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ Prevalence of depression, HbA[subscript 1]C level, and associated factors in outpatients with type 2 diabetes at endocrine clinic, King Chulalongkorn Memorial Hospital ธิติพันธ์ ธานีรัตน์ สุขเจริญ ตั้งวงษ์ไชย พวงสร้อย วรกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ เบาหวาน -- ผู้ป่วย น้ำตาลในเลือด ความซึมเศร้า วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของภาวะซึมเศร้า ระดับ HbA[subscript 1]C และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จำนวน 250 ราย โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างเป็นระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถามข้อมูล, แบบประเมิน Thai-HADS, แบบทดสอบ Thai Mental State Examination (TMSE), แบบประเมิน The Montreal Cognitive Assessment (MoCA) Test, แบบประเมิน The Summary of Diabetes Self-Care Activities (SDSCA), แบบสอบถามวัดเหตุการณ์ความเครียดในชีวิตภายใน 1 ปีที่ผ่านมา (Life Stress Event) และแบบประเมินบรรยากาศและความสัมพันธ์ในครอบครัว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS Window 11.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, Pearson's Chi-square test, Independent t-test, One way ANOVA test, Pearson Correlation และ Multivariate Logistic regression ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 62.58 ปี เป็นเพศหญิงร้อยละ 64.4 และมีประวัติการศึกษาตั้งแต่ 12 ปีขึ้นไปร้อยละ 53.6 พบความชุกของภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เท่ากับร้อยละ 28 และความชุกของการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ดี (ระดับ HbA[subscript 1]C ในเลือดตั้งแต่ 7% ขึ้นไป) ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เท่ากับร้อยละ 56 โดยในกลุ่มตัวอย่างที่มีค่า depressive scores ใน Thai-HADS มากกว่า 12 คะแนน พบว่าระดับน้ำตาลสะสมในเลือดมีความสัมพันธ์กับคะแนน depressive score แบบเส้นตรงในเชิงบวก (r = 0.803) นอกจากนี้ยังพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีภาวะซึมเศร้า ได้แก่ภาวะวิตกกังวล ระดับการศึกษาน้อยกว่า 12 ปี ประวัติ admission จากโรคเบาหวาน ความเห็นว่าสุขภาพของตนเสื่อมลง ประวัติขาดยารักษาโรคเบาหวานและ diabetic nephropathy ส่วนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดีได้แก่ การไม่มีโรคความดันโลหิตสูง การมี diabetic retinopathy ความเห็นว่าสุขภาพของตนเสื่อมลง การดื่มกาแฟ ค่า LDL ในเลือดสูงและการตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ The objectives of this descriptive research were to study the prevalence of depression, poor glycemic control, and associated factors in 250 outpatients with type 2 diabetes at endocrine clinic, King Chulalongkorn Memorial Hospital. The tools used for the data collection were demographic and clinical questionnaire, Thai-HADS, Thai Mental State Examination (TMSE), The Montreal Cognitive Assessment (MoCA) test, the summary of diabetes self-care activities (SDSCA), live stress event test (in the past year) and questionnaire for assessment of social support. The collected data was processed by SPSS for Windows 11.5 for means, standard deviations, frequencies and percentages, pearson's Chi-square test, independent t-test, one-way ANOVA, pearson correlation, and multivariate logistic regression analysis. The demographic data showed that 64.4% of the sample were female with mean age was 62.58 years, and 53.6% had at least 12-year education. The research results indicated that the prevalence of depression in patients with type 2 diabetes was 28% and the prevalence of poor glycemic control (HbA[subscript 1]C level[is more than or equal to] 7%) was 56%. Depression and poor glycemic showed linear relationship (r = 0.803) if depressive scores in Thai-HADS were more than 12. Multivariate logistic regression analysis revealed that anxiety, low education level, history of diabetes related admissions, perceived health status, compliance to diabetic treatments, and diabetic nephropathy could predict the depression. Additionally, hypertension, diabetic retinopathy, perceived health status, coffee drinking, high serum LDL, and albuminuria or proteinuria could predict the poor glycemic control. 2011-03-05T06:13:39Z 2011-03-05T06:13:39Z 2551 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14730 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2555347 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |