การแสดงออกของอินเตอร์เฟอรอน-แกมมาในผู้ป่วยโรคไลเคนพลานัสในช่องปาก

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พิมพ์พร รักพรม
Other Authors: พรพรรณ พิบูลย์รัตนกิจ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2011
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14783
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.14783
record_format dspace
spelling th-cuir.147832011-03-10T07:42:47Z การแสดงออกของอินเตอร์เฟอรอน-แกมมาในผู้ป่วยโรคไลเคนพลานัสในช่องปาก Expression of interferon-gamma in patients with oral lichen planus พิมพ์พร รักพรม พรพรรณ พิบูลย์รัตนกิจ กิตติพงษ์ ดนุไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ ไลเคน พลานัส อินเตอร์เฟอรอน-แกมมา ปาก -- โรค วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 ไลเคนพลานัสในช่องปากจัดเป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังชนิดหนึ่งของเยื่อเมือกในช่องปาก ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดในการเกิดโรค แต่เชื่อว่าความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันชนิดเซลล์เป็นสื่อมีความเกี่ยวข้องกับการเกิดพยาธิสภาพของโรค และจากรายงานที่ผ่านมาสนับสนุนว่าซัยโตไคน์หลายชนิดที่สร้างจากเซลล์ในบริเวณรอยโรคมีความสำคัญในการควบคุม การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันในบริเวณนั้น อินเตอร์เฟอรอน-แกมมา (interferon-gamma; IFN- γ) เป็นซัยโตไคน์ชนิดหนึ่งที่ทำให้เกิดการอักเสบซึ่งอาจมีความเกี่ยวข้องกับกระบวนการเกิดพยาธิสภาพของรอยโรคไลเคนพลานัสในช่องปาก การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการแสดงออกของ IFN- γ ในรอยโรคไลเคนพลานัสในช่องปากในระดับเซลล์โดยใช้วิธีอิมมูโนฮิสโตเคมี ชิ้นเนื้อจากผู้ป่วยไลเคนพลานัสในช่องปากจำนวน 20 ราย และกลุ่มควบคุมเนื้อเยื่อปากจำนวน 20 ราย ทำการตรวจทางพยาธิวิทยาเพื่อยืนยังผลการวินิจฉัย และทำการย้อมอิมมูโนฮิสโตเคมีด้วยแอนติบอดีต่อ IFN-γ ผลการศึกษาพบว่าผู้ป่วยไลเคนพลานัสในช่องปาก 19 จาก 20 ราย (ร้อยละ 95) แสดงปฏิกริยาที่ให้ผลบวกต่อ IFN- γ ซึ่งพบในโมนิวเคลียร์เซลล์ในชั้นใต้เยื่อบุผิว ในขณะที่ 5 จาก 20 ราย (ร้อยละ 25) พบในเซลล์สังเคราะห์เคอราติน ส่วนกลุ่มควบคุมเนื้อเยื่อปกติ 2 ใน 20 แสดงปฏิกิริยาที่ให้ผลบวกต่อ IFN-γ ซึ่งพบในโมโนนิวเคลียร์เซลล์ในขณะที่ไม่พบการแสดงออกของ IFN-γ ในเซลล์สังเคราะห์เคอราตินในเนื้อเยื่อปกติทั้งหมดอย่างไรก็ตาม จำนวนโมโนนิวเคลียร์เซลล์ที่มีการแสดงออกของ IFN- γ ของกลุ่มผู้ป่วยไลเคนพลานัสในช่องปากมีค่าสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.000)ในขณะที่จำนวนเซลล์สังเคราะห์เคอราตินที่มีการแสดงออกของ IFN-γ ของกลุ่มผู้ป่วยไลเคนพลานัสในช่องปากมีค่าสูงกว่ากลุ่มควบคุมแต่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.059) นอกจากนี้ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในจำนวนเซลล์ที่ให้ผลบวกต่อ IFN- γ ในกลุ่มป่วยไลเคนพลานัสในช่องปากระหว่างชนิดแผลถลอกและฝ่อลีบ จากการศึกษานี้แสดงว่า IFN-γ ที่มีการแสดงออกเพิ่มขึ้นบริเวณรอยโรคอาจมีบทบาทสำคัญต่อการเกิดพยาธิสภาพของรอยโรคไคเคนพลานัสในช่องปาก. Oral lichen planus (OLP) is a chronic inflammatory oral mucosal disease. Currently, the cause of OLP is still unknown, but cell-mediated immunity is implicated in the etiopathogenesis. Previous reports suggested that various cytokines which were produced by different cells in OLP lesion might have influence in the regulation of local immune response. Interferon-gamma (IFN- γ) is a proinflammatory cytokine which may be involved in the pathogenesis of OLP. The purpose of this study was to investigate the expression of IFN-γ in OLP by immunohistochemistry. Twenty OLP and 20 normal mucosa control tissue biopsies were sent for histopathologic examination to confirm diagnosis and immunohistochemical staining with antibody to IFN-γ. The results showed that positive reactivity to IFN-γ was detected in subepithelial mononuclear cells in 19 out of 20 OLP cases (95%), but was detected in keratinocytes in 5 out of 20 OLP cases (25%), Two out of 20 control cases (10%) revealed positive reactivity to IFN-γ in mononuclear cells, while all of the controls showed negative reactivity to IFN- γ in kerationcytes. However, the number of IFN-γ positive monuclear cells of OLP was statistically higher than that of normal mucosa (p – 0.000), whereas the number of keratinocytes positive to IFN-γ was not statistically higher than that of normal mucosa (p = 0.059). In addition, there were no statistical differences in the numbers of IFN-γ positive cells between erosive and atrophic OLP. These findings indicate that the increased expression of IFN-γ in the lesion may have an important role in the pathogenesis of OLP. 2011-03-10T07:42:46Z 2011-03-10T07:42:46Z 2549 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14783 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2406669 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ไลเคน พลานัส
อินเตอร์เฟอรอน-แกมมา
ปาก -- โรค
spellingShingle ไลเคน พลานัส
อินเตอร์เฟอรอน-แกมมา
ปาก -- โรค
พิมพ์พร รักพรม
การแสดงออกของอินเตอร์เฟอรอน-แกมมาในผู้ป่วยโรคไลเคนพลานัสในช่องปาก
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
author2 พรพรรณ พิบูลย์รัตนกิจ
author_facet พรพรรณ พิบูลย์รัตนกิจ
พิมพ์พร รักพรม
format Theses and Dissertations
author พิมพ์พร รักพรม
author_sort พิมพ์พร รักพรม
title การแสดงออกของอินเตอร์เฟอรอน-แกมมาในผู้ป่วยโรคไลเคนพลานัสในช่องปาก
title_short การแสดงออกของอินเตอร์เฟอรอน-แกมมาในผู้ป่วยโรคไลเคนพลานัสในช่องปาก
title_full การแสดงออกของอินเตอร์เฟอรอน-แกมมาในผู้ป่วยโรคไลเคนพลานัสในช่องปาก
title_fullStr การแสดงออกของอินเตอร์เฟอรอน-แกมมาในผู้ป่วยโรคไลเคนพลานัสในช่องปาก
title_full_unstemmed การแสดงออกของอินเตอร์เฟอรอน-แกมมาในผู้ป่วยโรคไลเคนพลานัสในช่องปาก
title_sort การแสดงออกของอินเตอร์เฟอรอน-แกมมาในผู้ป่วยโรคไลเคนพลานัสในช่องปาก
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2011
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14783
_version_ 1681412731417133056