การพัฒนาตัวกรองชีวภาพสำหรับสลายไอของไดเบนโซฟูแรน
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2011
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15251 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.15251 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.152512011-06-04T13:53:06Z การพัฒนาตัวกรองชีวภาพสำหรับสลายไอของไดเบนโซฟูแรน Development of biofilter for degradation of dibenzofuran vapor ไพฑูรย์ ทวีรุจิโรจน์ ชาญวิทย์ โฆษิตานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ ไดเบนโซฟูแรน ไดออกซิน ตัวกรองชีวภาพ วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 งานวิจัยนี้ศึกษาความสามารถในการเจริญและย่อยสี Remazol Brilliant Blue R (RBBR) ของรา จำนวน 8 สายพันธุ์ โดยเลี้ยงบนอาหารเลี้ยงเชื้อแข็ง Czapek Dox และ mineral medium ที่เติมสี RBBR พบว่ารา Phanerochaete sordida (CK1), Phanerochaete ericina (CK2) และ Athelia pellicularis (T3) มีความสามารถในการเจริญและย่อยสี RBBR ได้ดีที่สุด ราเหล่านี้สามารถเจริญได้บนขุยมะพร้าวที่ผสมอาหารเลี้ยงเชื้อเหลว Czapek Dox และ mineral medium รา T3 สามารถย่อยสลายไอระเหยของไดเบนโซฟูแรนได้ดีที่สุดคือ 64 เปอร์เซ็นต์ ที่อัตราส่วนระหว่างขุยมะพร้าวต่ออาหารเลี้ยงเชื้อเหลว 1 ต่อ 10 น้ำหนักต่อปริมาตร เมื่อใช้ตัวกรองอากาศชีวภาพซึ่งทำด้วยท่ออะคลิลิคขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 5.0 เซนติเมตร ความสูง 2 เมตร และใช้ขุยมะพร้าวผสมอาหารเลี้ยงเชื้อเหลว Czapek Dox เป็นตัวกลาง โดยศึกษาเป็นเวลา 6 วัน ควบคุมอัตราการไหลของอากาศเข้าระบบที่แท้จริงเป็น 0.337 ลิตรต่อนาที ทำให้มีระยะเวลาที่ไอระเหยของไดเบนโซฟูแรนสัมผัสกับตัวกลาง 595 วินาที พบว่าเมื่อความเข้มข้นของไดเบนโซฟูแรนมีค่าไม่เกิน 24 ppmv ระบบจะมีประสิทธิภาพในการบำบัดสูงสุด 75 เปอร์เซ็นต์ ความสามารถในการบำบัดไอระเหยของไดเบนโซฟูแรนมีค่าสูงสุด 0.49 กรัมต่อลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง Eight strains of white rot fungi were tested for their ability of growth and Remazol Brilliant Blue R (RBBR) decolorization in double layers agar of Czapek Dox and malt extract agar, and mineral salts medium (MM) contained RBBR. Among these strains, Phanerochaete sordida (CK1), Phanerochaete ericina (CK2) and Athelia pellicularis (T3) showed the highest growth rate and RBBR decolorization ability. The fungi grew well on the ground coconut coir with either Czapek Dox or mineral medium. For dibenzofuran degradation ability, T3 showed the highest dibenzofuran degradation ability (64%) by using medium:ground coconut coir ratio of 1:10 w/v. Bench-scale biofilter was constructed for studying dibenzofuran removal from dibenzofuran vapor stream with T3 grown on the biofilter medium. Biofiltration of dibenzofuran vapor was carried out for 6 days at constant flow rate of 0.337 l/min and the contact time of 595 seconds. At the inlet concentration not exceed 24 ppmv, the maximum removal efficiency (RE) of 75% was observed. The maximum elimination capacity (EC[subscript max]) obtained from this study was 0.49 g/m[superscript 3]/hr. 2011-06-04T13:53:05Z 2011-06-04T13:53:05Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15251 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1698699 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ไดเบนโซฟูแรน ไดออกซิน ตัวกรองชีวภาพ |
spellingShingle |
ไดเบนโซฟูแรน ไดออกซิน ตัวกรองชีวภาพ ไพฑูรย์ ทวีรุจิโรจน์ การพัฒนาตัวกรองชีวภาพสำหรับสลายไอของไดเบนโซฟูแรน |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 |
author2 |
ชาญวิทย์ โฆษิตานนท์ |
author_facet |
ชาญวิทย์ โฆษิตานนท์ ไพฑูรย์ ทวีรุจิโรจน์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ไพฑูรย์ ทวีรุจิโรจน์ |
author_sort |
ไพฑูรย์ ทวีรุจิโรจน์ |
title |
การพัฒนาตัวกรองชีวภาพสำหรับสลายไอของไดเบนโซฟูแรน |
title_short |
การพัฒนาตัวกรองชีวภาพสำหรับสลายไอของไดเบนโซฟูแรน |
title_full |
การพัฒนาตัวกรองชีวภาพสำหรับสลายไอของไดเบนโซฟูแรน |
title_fullStr |
การพัฒนาตัวกรองชีวภาพสำหรับสลายไอของไดเบนโซฟูแรน |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาตัวกรองชีวภาพสำหรับสลายไอของไดเบนโซฟูแรน |
title_sort |
การพัฒนาตัวกรองชีวภาพสำหรับสลายไอของไดเบนโซฟูแรน |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2011 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15251 |
_version_ |
1681413047449550848 |